สิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง


| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |
| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | |



หนังสือ


กมล วิชิตสรสาตร์. "ประวัติการพิมพ์หนังสือไทย, " เอกลักษณ์ของชาติ : อ่านไทย-เขียนไทย. กรุงเทพฯ : ป้อมเพชร, ๒๕๒๙. หน้า ๖๑ - ๖๔.

กรมการศาสนา. ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี : ภาค ๑. กรุงเทพฯ : กรมศาสนา, ๒๕๒๕.

กรมที่ดิน. วิวัฒนาการการออกโฉนดที่ดิน และงานทะเบียนที่ดิน. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๓.

______ . รวมกฎหมายเก่าเกี่ยวกับที่ดิน. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๔๓.

กรมไปรษณีย์โทรเลข. "๑๑๕ ปี แห่งวิวัฒนาการ : ระยะที่ ๑ บุกเบิก, " หนังสือที่ระลึกเนื่องในพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : เบิกฟ้า. กรุงเทพฯ : กรมไปรษณีย์โทรเลข, ๒๕๔๑.

กรมศิลปากร. ถนิมพิมพาภรณ์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๕. (กรมศิลปากร จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕)

__________ . "ปกิณกคดีวิถีไทยในเรื่องบัว, " อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พลโทจิติ์ สุนทานนท์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : [ ม.ป.พ.], ๒๕๔๓. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทจิตต์ สุนทานนท์ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร วันที่ ๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓)

___________. ประชุมพงศาวดาร. ภาคที่ ๕. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, ๒๕๓๓. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันตำรวจเอก (พิเศษ) บุญเพ็ญ แขวัฒนะ ต.ช. ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๓] [DS571 ก-ป 2533]

__________ . ประวัติวัดอรุณราชวราราม. [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๕๒๑. พิมพ์ครั้งที่ ๒. (คณะสงฆ์วัดอรุณราชวราราม จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาณมหาเถร) อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ณ เมรุหน้าพลับพลา อิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ ๓ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๒๑).

__________ . ราชพิพิธภัณฑ์. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๘๓. (พิมพ์ถวายพระภิกษุสามเณรในเทศกาลเข้าพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๓)

__________ . สมุดภาพพระประวัติและพระกรณียกิจของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ (The Illustrated Biography of Her Royal Highness Prince Damrong Rajanupab). กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๙.

กรมอู่ทหารเรือ. ๑๐๐ ปี กรมอู่ทหารเรือ. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๓๓. ( จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนา กรมอู่ทหารเรือครบรอบ ๑๐๐ ปี ในวันที่ ๙ มกราคม ๒๕๓๓)

กรรณิการ์ ตันประเสริฐ. รายงานการวิจัยเรื่อง ๙๐ ปีมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งบนเส้นทางประวัติศาสตร์สังคมไทย : ประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, ๒๕๔๓. ( มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งจัดพิมพ์เป็นที่ระลึก ในโอกาสดำเนินกิจการครบรอบ ๙๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๓)

กระทรวงพาณิชย์. เส้นทางการค้าไทย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอุดมศึกษา, ๒๕๔๓. ( ที่ระลึกเนื่องในวันสถาปนา กระทรวงพาณิชย์ ครบรอบ ๘๐ ปี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๓)

กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทย : จะเรียนจะสอนกันอย่างไร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๓.

________________ . กวีนิพนธ์เฉลิมพระเกียรติพระบรมราชจักรีวงศ์ ปีกาญจนาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๓๙ ฉัตรแก้วเก้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๐.

________________ . ๑๐๐ ปี กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ, ๒๕๓๕. ( พิมพ์เป็นที่ระลึกวันคล้ายวันสถาปนาครบรอบ ๑๐๐ ปี กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๓๕.)

กันยาบดี. หมายเหตุ : เมื่อแผ่นดินร้องไห้. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๓๙.

_______ . ฮ้อบบี้จ้าวแผ่นดิน : เกร็ดเล่าเรื่องพระราชนิยมส่วนพระองค์ ร.๔-ร.๕-ร.๖. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๔๐.

กัลยาณคุณ. เปิดตำนานท่านเจ้าประคุณสมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังษี. นนทบุรี : จดหมายเหตุ, ๒๕๔๓.

กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า. มหามกุฎราชสันตติวงศ์ : พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๗. (DS581 ส-ม 2547)

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๖.

กริสโวลด์, เอ.บี. "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ". แปลโดย ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล. หนังสือที่ระลึกรอบ 100 ปี แห่งวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและวันเสวยราชย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๑๑. (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทาน วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๑).

กริสโวลด์, เอ.บี. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าสยาม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗. (มหามกุฏราชวิทยาลัยจัดพิมพ์เนื่องในการเฉลิมฉลองวาระที่วันพระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ ๒๐๐ ปี ในวันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗) (DS581 ก-พ 2547)

ไกรฤกษ์ นานา. พระจอมเกล้า : รู้เท่าทันตะวันตก "มิตรภาพอาบยาพิษ". กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.

___________. King Mongkut หยุดยุโรปยึดสยาม. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.




ขจร สุขพาณิช. พระเกียรติประวัติของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.พระนคร : โรงพิมพ์มหาดไทย กรมราชทัณฑ์, ๒๕๐๐. (พิมพ์แจกเป็นอนุสรณ์ ในงานบำเพ็ญกุศลสมโภชสุพรรณบัฏของ เจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยาราม วันพุธที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๐)

ของดีร้อยสิ่งมิ่งเมืองไทย (One Hundred Precious Siamese Treasures). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พัลลิชชิ่ง, ๒๕๓๗. ( จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสบริษัทเอสโซ่ประเทศไทยจำกัด ครบรอบ ๑๐๐ ปี)

ข้อมูลของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. " พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, สถาบันเทคโนโลยี" สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๙, พรหมาภิบาล (ทองใบ สุวรรณภารดา), พระยา - พิชัยสงคราม, ตำรา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๓๙๓๕-๓๙๓๙. ( จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒)

ขาว เหมือนวงศ์. การพิสูจน์การทรงคำนวณการเกิดสุริยุปราคาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๔๔. (คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดทำเนื่องในงานวันสถาปนา มจธ.๒๕๔๔)

ไข่มุกด์ ชูโต. " แนวคิดในการสร้างพระบรมราชานุเสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, " สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ๑๘ - ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๐. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๐. น. ๑๑-๑๔.



คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี. กวีนิพนธ์เฉลิมพระเกียรติกรุงรัตนโกสินทร์ : ฉบับชนะการประกวด. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕) (๒)

____________________________________________ . ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

____________________________________________ . ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๓ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

คณะกรรมการดำเนินงานจัดทำหนังสือสมุดภาพวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร. สมุดภาพวัดอรุณราชวราราม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ (๑๙๘๔) จำกัด, ๒๕๓๔. ( กรุงเทพมหานครจัดพิมพ์ในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๓ รอบนักษัตร ๒ เมษายน ๒๕๓๔)

คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ. เมืองไทยของเรา. กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทำหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยสำหรับเยาวชน, ๒๕๒๕. ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ครบ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : วันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗. นครปฐม : โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย์, ๒๕๔๗. (จัดทำโดยฝ่ายจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ วัดบวรนิเวศวิหาร).

ครบ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : วันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุรวัฒน์, ๒๕๔๗. (จัดทำโดยฝ่ายจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ วัดบวรนิเวศวิหาร).

ความสัมพันธ์ไทย - จีน ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, ๒๕๔๓. (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (JX 1579.5 ค 2543)

โคลงภาพพระราชพงศาวดาร. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๖. (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์สนองคุณพระโสทรเชษฐภคินี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ในงานพระราชพิธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย วันเสาร์ที่ ๒๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๖) (DS 571 ค 2526)

โคลงถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิพระเจ้าหลวง : พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นศรีสุเรนทร์ และตำหนักแพ : พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, ๒๕๑๒. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอำมาตย์ตรี ศิริ จรูญเวสม์ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๒).

โคลงเรือลอยพระประทีป ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ . พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖.





จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕) ( ๒ ล)

จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จฯ พระ. จดหมายเหตุระยะทางเสด็จหัวเมืองเหนือ : พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เปนภาษามคธ เมื่อเสด็จธุดงค์ในปีมะเสง พ.ศ.๒๓๗๖. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๘. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช โปรดให้พิมพ์ เมื่อปีฉลู พ.ศ.๒๔๖๘).

จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชหัตถเลขา. รวมครั้งที่ ๓. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๕. ( สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ โปรดให้พิมพ์ เมื่อปีจอ พ.ศ.๒๔๖๕) (DS581 พ - พ 2521) (๔)

______________, พระบาทสมเด็จพระ. บทเบิกโรงลครหลวง. พระนคร : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๖๓. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสมรรัตนศิริเชษฐ โปรดให้พิมพ์ เมื่อปีวอก พ.ศ. ๒๔๖๓)

______________, พระบาทสมเด็จพระ. ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ : หมวดปกิณณกะภาค ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๑. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ หม่อมสาย ศรีธวัช ณ อยุธยา ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๒).

______________, พระบาทสมเด็จพระ. สวดมนต์ ตัวอริยะกะ (พร้อมคำอ่านในอักษรไทย) : พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุรวัฒน์, ๒๕๔๗. (วัดบวรนิเวศวิหาร จัดพิมพ์เนื่องในวันพระบรมราชสมภพและวันเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาปวารณาดิถี วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗)


______________, พระบาทสมเด็จพระ. สำเนาและคำแปลพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ ก่อนเถลิงถวัลยราชสมบัติ รวม ๔ ฉบับ. พระนคร : ห้างหุ้นส่วนบุญส่งการพิมพ์, ๒๕๐๗. (ดร.ถวิล-คุณสมศรี คูตระกูล พิมพ์ถวายในงานบำเพ็ญกุศลฉลองอายุครบ ๕ รอบของพระเทพเมธากร (ทิม อุฑาฒิโม เปรียญ) เจ้าอาวาสวัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๐๗).

______________, พระบาทสมเด็จพระ. สำเนาและคำแปลพระราชหัตถเลขาภาษาอังกฤษในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๑๔. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ) ป.ช.ท.จ.).

จำนงค์ ทองประเสริฐ. "ศาสนาพุทธในภาคกลาง, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง. เล่ม ๑๓, วรเชษฐาราม, วัด - สมุทรปราการ, จังหวัด. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๖๒๙๙. (จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS568 ม-ส 2542)

จิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๒๕.

จินตนา กระบวนแสง. " พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่กับวิทยาศาสตร์และการทหารปืนใหญ่, " สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๒๗. หน้า ๑๖ - ๑๙.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ภาค ๙. ฉะบับพิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๗๘. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนไชยนาทนเรนทร โปรดให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ณ พระเมรุวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม)

_______________________________. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๑๖.

_______________________________. พระราชปรารภเรื่อง พระพุทธชินราช. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๕. ( พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงกลิ่น พิษณุโลกาธิบดี บัว เมื่อปีจอ พ.ศ.๒๔๖๕)

_________________, พระบาทสมเด็จพระ. เทศนาพระราชประวัติ : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๕๐๕. ( พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานประดิษฐาน พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า บนพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๐๕) (DS 581 จ - จ 2505)



เฉลิมพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๑. (มูลนิธิวิทยาศาสตร์ ดร.ปรีชา-ประไพ อมาตยกุล ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างๆ จัดพิมพ์เนื่องในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๑)

เฉลิมรัฐฉัตรแก้ว เก้าแผ่นดิน (Rattanakosin Bicentennial). กรุงเทพฯ : กรุงเทพมหานคร ๒๕๓๕. ( พิมพ์เพื่อเป็นอนุสรณ์เนื่องในโอกาสสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๒๕).

เฉลิมศักดิ์ รามโกมุท. สารคดีบอกเล่าด้วยรูปและเรื่อง เกิดกลางกรุง, ชุดถนนหนทาง. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิ่ชชิ่ง, ๒๕๓๗.

เฉลิมศรี หุนเจริญ. "รำโคม : การเล่นถวายหน้าพลับพลาเวลาค่ำ, " บทความ-สารคดีของ คณะอนุกรรมการจัดทำเอกสาร และบทความสดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงาน เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๙. หน้า ๙๗-๑๐๑.



ชวนพิศ ดุษฎีประเสริฐ. "ภูมิปัญญาไทยในกระแสอิทธิพลตะวันตก, " เรียงความ/บทวิชาการ ฉบับที่ได้รับรางวัลเงินทุนภูมิพล ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔. หน้า ๑๙๕-๒๒๑.

ชัชพล ไชยพร. "พุ่มเทียน : เครื่องสักการะที่ถูกลืม," บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการจัดทำเอกสารและบทความสดุดีบุคคลสำคัญ. เล่ม ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหมิตรพริ้นติ้ง, ๒๕๔๖. หน้า 157-164. (AC158 ส-บ 2546)

ชาลี เอี่ยมกระแสสินธุ์. เมื่อราชทูตไทยไปปักกิ่ง. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สาส์น, ๒๕๒๐.

_________________ . สมุดภาพโบราณ ตำนานรัตโกสินทร์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๖.

ชิน โสภณพานิช. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, ๒๕๓๑. (จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายชิน โสภณพนิช ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร ๙ เมษายน ๒๕๓๑)

ชุมนุมฉันท์ดุษฎีสังเวย. [ ม.ป.ท.] : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๕๗. ( พิมพ์แจกในงานศพ พระยาศรีธรรมศุกราช พ.ศ.๒๔๕๗).

ชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์มหามงกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๐๕. (จัดพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงสพ พันตรี มจ.ไตรทิพเทพสุต เทวกุล ๙ ตุลาคม ๒๕๐๕).

______________________________________________________ . พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๐๑. (คณะบุตรธิดาพิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ นางบัว วิมานวัชรี ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๒๙ มีนาคม ๒๕๐๑).

______________________________________________________. ภาคที่ ๑, หมวดวรรณคดี. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๔. ( สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า โปรดให้พิมพ์เปนมิตรพลีขึ้นปีใหม่ พ.ศ.๒๔๗๕).

______________________________________________________. ภาคที่ ๒, หมวดราชประเพณีโบราณ. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๗๓. ( สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า โปรดให้พิมพ์เปนมิตรพลีขึ้นปีใหม่ เมื่อปีมะเมีย พ.ศ.๒๔๗๓).

______________________________________________________. ภาคที่ ๔, หมวดโบราณสถานและโบราณวัตถุ. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๑. (สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า โปรดให้พิมพ์เปนมิตรพลีขึ้นปีใหม่ พ.ศ.๒๔๗๒).

ชุมนุมพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหมวดวรรณคดีและหมวดโบราณคดี และประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ ภาคปกิณกะ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑.

ชุมนุมพระบรมราชาธิบาย และประชุมพระราชนิพนธ์ ภาคปกิณกะ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗.

ชัวซีย์ , เดอ. จดหมายเหตุรายวัน การเดินทางไปสู่ประเทศสยาม ในปี ค.ศ. ๑๖๘๕ และ ๑๖๘๖. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพ : ก้าวหน้า , ๒๕๑๖.





ณรงค์วิชิต , พระ. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๐ เรื่องราชทูตไทยไปประเทศฝรั่งเศษในรัชกาลที่ ๔เมื่อปีระกาพุทธศักราช ๒๔๐๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์. ๒๕๐๑. ( อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงทิพยรัตนกิริฏกุลิณี ณ พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๑).

ณัฏฐภัทร จันทวิช. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๐. ( กรมศิลปากรจัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เนื่องในมหาวโรกาส พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐).

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. พระเกียรติประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗. (มหามกุฏราชวิทยาลัยจัดพิมพ์เนื่องในการเฉลิมฉลองวาระที่วันพระบรมราชสมภพแห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครบ ๒๐๐ ปี ในวันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗) (DS581 ณ-พ 2547)




ดาว เพชรชาติ."พระเธียราชธรรมปัจฉิมปรโมทานฯ". อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารครบรอบ ๑๐๘ ปี : ภาคที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

___________ . " พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระจอมปราชญ์ไทย". อนุสรณ์วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ครบรอบ ๑๐๘ ปี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

ดำเนิร เลขะกุล. " การปฏิรูปทางการปกครอง".ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ. ๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงาานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

___________ . "การปืนใหญ่ในรัชกาลที่ ๔". มรดกของชาติ. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๗.

___________ . " พระราชมรดกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว". มรดกของชาติ เล่ม ๔. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๓๖.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ความทรงจำ พระนิพนธ์ ที่ทรงค้างไว้ ๕ ตอน. พระนคร : โรงพิมพ์ของสมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย, ๒๕๐๖. _____________, สมเด็จฯ กรมพระยา. ความทรงจำ.พระนคร : แพร่พิทยา, ๒๕๑๔.

_____________, สมเด็จฯ กรมพระยา. พระประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : ป. สัมพันธ์พาณิชย์, ๒๕๓๙. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าแขไขจรัส เกษมศรี ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๙)

_____________, สมเด็จฯ กรมพระยา. " เจ้าจอมมารดาทับทิม, "นารีผู้มีคุณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๕. หน้า ๒๔-๔๕.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕๐ เรื่อง ตำนานเมืองระนอง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์หนังสือพิมพ์ไทย, ๒๔๗๔. ( มหาอำมาตย์ตรี พระยาประดิพัทธภูบาล (คอยู่เหล ณ ระนอง) พิมพ์แจกในงานยืนชิงช้า พ.ศ. ๒๔๗๔)

_____________, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงธนฯ และกรุงเทพฯ (เปนตอนปลายของ หนังสือเรื่องรบพม่าครั้งกรุงศรีอยุทธยา). ( ม.ป.ท.) : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๖๓. ( สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัติวงศ์ โปรดให้พิมพ์คราวแรกในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าหญิงปลื้มจิตร ปีวอก พ.ศ.๒๔๖๓).

_____________, สมเด็จฯ กรมพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๕. พระนคร : บรรณาคาร, ๒๕๑๔.

_____________, สมเด็จกรมพระยา. เรื่องพระจอมเกล้าฯ. พระนคร : โรงพิมพ์ตีรณสาร, ๒๕๐๐. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงศรีสังกร ต.จ. (ตาบ จารุรัตน์) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๑๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๐).

_____________, สมเด็จกรมพระยา. ตำนานพระพุทธรูปสำคัญ. พระนคร : บริษัทเสนาการพิมพ์, ๒๕๐๐. (พลโท พระยาศักดา ดุลยฤทธิ์ พิมพ์แจกเนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงศักดาดุลยฤทธิ์ (สงวน ทิพานนท์) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๐). (๒)

ดำรัศดำรงค์ เทวกุล ฯ, หม่อมเจ้า. (รวมรวมโดยพระบรมราชโองการ) พระประวัติสมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธธุวงศวรเดชฯ. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๒. (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิง สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข ณ พระเมรุท้องสนามหลวง เมื่อปีมะเส็ง พุทธศักราช ๒๔๗๒)




ตำนานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. พระนคร : โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, ๒๔๙๕.

ตำนานพระอาราม แลทำเนียบสมณศักดิ์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๒. ( ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพ พระมหารัชมงคลดิลก (บุณเรือน ปุณฺณโก ป.ธ. ๕) พระเทพวิสุทธิญาณ อุบล นนฺทโก ป.ธ. ๙) ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ ๒๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒)

ตุ๋ย เหล่าสุนทร. เหรียญกษาปณ์เมืองไทย และกระดาษเงิน. กรุงเทพฯ : ประเสริฐการพิมพ์, ๒๕๑๕. (อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางต๊า กกกำแหง ณ เมรุวัดประยูรวงศาวาส วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๑๕).



ทรงสรรค์ นิลกำแหง. "กำเนิดเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย, " มรดกของชาติ เล่ม ๘. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, [ม.ป.ป.] ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา. กรุงเทพฯ ๒ ศตวรรษ. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๒๕.

_____________________ . "งานพระเมรุมาศสมัยกรุงรัตนโกสินทร์, " บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการ จัดทำเอกสาร และบทความสดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๙. หน้า ๕๑-๕๕.

_____________________ . "พระมหากษัตริย์ นักวิทยาศาสตร์ไทย, " พระราชกรณียกิจกับการพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๒๗. หน้า ๑๗ - ๒๑.

ทางไมตรีกับฝรั่งในรัชกาลที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์ตีรณสาร, ๒๕๐๒. ( พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส ๓๑ มีนาคม ๒๕๐๒).

ทำเนียบวัดแห่งประเทศไทย (Directory of all Monasteries in Thailand). กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์, ๒๕๑๙.

ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ - ๔. พระนคร : คลังวิทยา, ๒๕๐๖.

____________________, เจ้าพระยา.เรื่องพระปฐมเจดีย์. พิมพ์ครั้งที่ ๑๗. กรุงเทพฯ : สำนักงานจัดประโยชน์และรักษาองค์พระปฐมเจดีย์, ๒๕๑๑.

ที่ระลึกในพิธีเปิดพระบวรราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๑๙. ( คณะกรรมการหาเงินกองทุนเพื่อสร้างเสริม พระบวรราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในพิธีเปิดพระบวรราชานุเสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บริเวณโรงละครแห่งชาติ วันพุธที่ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๙).

ที่ระลึกสยามรัฐพิพิธภัณฑ์สวนลุมพินี พระพุทธศักราช ๒๔๖๘ (The souvenir of the Siamese Kingdom exhibition at Lumbini Park B.E.2468. [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๔๗๐.

เทพชู ทับทอง. ต้นตระกูลไทย : ราชสกุล - นามสกุล พระราชทาน. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๘.

___________ . สิ่งใหม่ ในสยาม. กรุงเทพฯ : สมใจการพิมพ์, ๒๕๓๑.

เทศนาพระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๐๐. ( หม่อมเจ้าพูนศรีเกษม เกษมศรี พิมพ์แจกในงานบำเพ็ญกุศลถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ พ.ศ.๒๕๐๐).

เทอดพงศ์ คงจันทร์. การเมืองเรื่องสถาปนาพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.

ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา. "พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย," สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๑๘. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๗. หน้า ๑๒-๑๗.

เทอดพงศ์ คงจันทร์. การเมืองเรื่องสถาปนาพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.



ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน). ๙๐ ภูมิปัญญา ค่าควรเมือง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออก, ๒๕๔๐. (DS571 ธ-ก 2540]

ธนาคารนครธน จำกัด (มหาชน). ตำนานในเงินตราไทย (Legends in Thai Money). กรุงเทพฯ : เดอะพริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล, [ม.ป.ป.]. ( จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบ 60 ปี)

ธรรมเกียรติ กันอริ. พระนครควรชม : ฉบับเที่ยวไปให้ไกล จากใกล้เกลือกินด่าง. กรุงเทพฯ : ผู้จัดการ, ๒๕๓๘.

ธวัช รัตนาภิชาติ.เมืองไทยในทัศนะของฝรั่ง. พระนคร : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น, ๒๕๐๗. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางเพิ่ม สุมาวงศ์ ณ สุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาสพระนคร วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๗).

ธิดา สาระยา. ตำนานและตำนานประวัติศาสตร์กับการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๒๕.

__________ . ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๒๙.

__________ . ราษฎรในคลองแห่งความเจริญของสยาม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๔๐. หน้า ๑๔ - ๑๙.

ธีรภาพ โลหิตกุล. "รักษ์ไทยเข้าใจประวัติศาสตร์," ร้อยใจรักษ์ไทย. กรุงเทพฯ : มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน), ๒๕๔๗. (มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) จัดพิมพ์เนื่องในวาระครบรอบ ๔ ปี ของรายการ "ที่นี่...ประเทศไทย)




น.ณ. ปากน้ำ. ศิลปะวิเศษสยามประเทศ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๖.

__________ . ศิลปะโบราณในสยาม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๗.

นฤมล ธีรวัฒน์. พระราชดำริทางการเมืองของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว".วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.

นวรัตน์ เลขะกุล. เบี้ย บาท กษาปณ์ แบงก์. กรุงเทพฯ : สารคดี, ๒๕๔๓.

นามพระที่นั่ง นามประตูแลป้อม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ์, ๒๔๔๙.

นายกรัฐมนตรี, สำนัก. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย (Royal Thai Orders and Decorations). กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, ๒๕๓๖. ( จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕).

นายกรัฐมนตรี, สำนัก. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ฉบับสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ๒๕๒๓.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์ในพระราชพงศาวดารอยุธยา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, ๒๕๔๓.

นิพนธ์ ศิริธร. " การพัฒนากำลังทางเรือของไทย, " จิตวิทยาความมั่นคง ๒๕๒๘. กรุงเทพฯ : สมาคมจิตวิทยาความมั่นคง แห่งประเทศไทย, ๒๕๒๘. หน้า ๒๐๔-๒๑๔.

นิราศลอนดอนและจดหมายเหตุ เรื่องราชทูตไทยไปประเทศอังกฤษในรัชกาลที่ ๔ ของหม่อมราโชทัย . พิมพ์ครั้งที่ ๕. พระนคร : คลังวิทยา , ๒๕๐๘.

นิราศลอนดอน ของหม่อมราโชทัย (ม.ร.ว.กระต่าย อิศรางกูร) และทรัพย์ในดินของเมืองไทย ของหลวงบริบาลชวกิจ. พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์, ๒๕๐๕. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปณกิจศพ ณ ฌาปนสถานวัดหัวลำโพง ๑๘ มีนาคม ๒๕๐๕).

นิราศลอนดอน และจดหมายเหตุหม่อมราโชทัย (ม.ร.ว.กระต่าย อิศรางกูร) : เรื่องราชทูตไทยไปประเทศอังกฤษ ในรัชกาลที่ ๔ เมื่อปีมะเส็ง พุทธศักราช ๒๔๐๐. พระนคร : โรงพิมพ์กรมสารบรรณทหารอากาศ, ๒๕๑๑. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงรำไพ อิศรางกูร ณ เมรุวัดระฆังโฆสิตาราม วันที่ ๑๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๑๑).

เนื่องในวันเฉลิมพระชนมายุ ครบ ๓ รอบ ๑๒ สิงหาคม พระพุทธศักราช ๒๕๑๑. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๑๖. ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระชนมายุ ครบ 36 พรรษา)



บรรเจิด อินทุจันทร์ยง. เฉลิมพระเกียรติพระบรมราชจักรีวงศ์. กรุงเทพฯ : ปริทัศน์ศาสตร์, ๒๕๒๕. (พิมพ์ในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี).

__________________ . "พระพุทธเสฏฐมุนี, " มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๒๒-๓๔.

บริบาลบุรีภัณฑ์, หลวง. เรื่องพระพุทธสิหิงค์ กับวิจารณ์ของหลวงบริบาลบุรี. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๔๗๗. (กรมศิลปากร พิมพ์ฉลองในงานพระพุทธสิหิงค์) พ.ศ. ๒๔๗๗.

บุรุษอาชาไนย : องค์หนึ่งของชาติไทย ฯลฯ มหามกุฏบรมราชานุสสรณ์. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๙๒. ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในงานสมโภชพระบรมรูป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดมกุฏกษัตริยาราม ในมงคลวารดีถีคล้ายวันพระราชสมภพ ครบ ๑๔๕ ปี วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๔๙๒)

บรัดเล, ดี บี. ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๓๑ จดหมายเหตุเรื่องมิซชันนารีอเมริกันเข้ามาประเทศสยาม. แปลเปนภาษาไทย นายป่วน อินทุวงศ เปรียญ. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๘. ( พิมพ์ในงารศพพระยาสารสินสวามิภักดิ (เทียนฮี้ สารสิน) เดือนตุลาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๘)

บุหลง ศรีกนก. " บทความเรื่องพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว : บรรยายทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๓, " สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๖. หน้า ๒๑-๒๕.

เบาว์ริง, จอห์น. ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๔๗. [DS578 บ-ร 2547]

เบาว์ริง, จอห์น. ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม. เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๔๗. [DS578 บ-ร 2547]





ปฎิจจสมุทปบาทธรรม : ตามแนวพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕. ประกอบ โชประการ. มหาราชชาติไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : รวมข่าว, [ม.ป.ป.].

ประกอบ โชประการ, ประยุทธ สิทธิพันธ์ และสมบูรณ์ คนฉลาด. ๙ พระมหากษัตริย์ไทยครองกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : รวมข่าว, [ ม.ป.ป.]. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ ๒๐๐ ปี).

ประกาศสังฆาณัติในรัชกาลที่ ๔ ปีกุญ พ.ศ.๒๓๙๔ ปีชวด พ.ศ.๒๓๙๕ แลปีฉลู พ.ศ.๒๓๙๖. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๘. (พิมพ์ในงารพระศพ พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ ครบศตมาห ณ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๘).

ประชา นิยมวงศ์. เหตุการณ์สำคัญในสมัยรัชกาลที่ ๔ จาก หนังสือบันทึกหลักฐาน และเหตุการณ์สมัยกรุงเทพฯ เล่ม ๒. อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารครบรอบ ๑๐๗ ปี : ภาคที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

ประชุมจดหมายเหตุ เรื่องสุริยุปราคาในรัชกาลที่ ๔ และเรื่องรัชกาลที่ ๔ ประชวรและสวรรคต. พระนคร : โรงพิมพ์ตีรณสาร, ๒๕๐๐. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงศรีสังกร ต.จ. (ตาบ จารุรัตน์) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๑๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๐).

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ = Collected proclamations of King Mongkut. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๔๗. [DS581 ป 2547]

ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๓๙๔-๒๔๐๔. ธนบุรี : โรงพิมพ์ดำรงค์ธรรม, ๒๕๑๑. [คณะสงฆ์วัดอนงคาราม ในความอุปถัมภ์ของนายชำนาญ และคุณหญิงวลี ยุวบูรณ์ พิมพ์ถวายในงานพระราชทานเพลิงศพ พระมหาโพธิวงศาจารย์ อินทโชตเถระ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๑].(๒)

ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๔๐๕-๒๔๑๑. พระนคร : โรงพิมพ์เหรียญทองการพิมพ์, ๒๕๑๑. [พลเอกประภาส จารุเสถียร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พิมพ์ถวายในงาน พระราชทานเพลิงศพ พระมหาโพธิวงศาจารย์ อินทโชตเถระ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๑]. (๒)

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ : พุทธศักราช ๒๔๐๕ - พุทธศักราช ๒๔๑๑.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, ๒๕๔๑. [พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้จัดพิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโท หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว. ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร วันเสาร์ที่ ๒๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๑. [DS581 ป 2541]

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๒ : ประกาศปีขาล พ.ศ.๒๓๙๗ ปีเถาะ พ.ศ.๒๓๙๘. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๕. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสมรรัตน์สิริเชษฐ โปรดให้พิมพ์ เมื่อปีจอ พ.ศ.๒๔๖๕). (๒) ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๓ : ประกาศปีมะโรง พ.ศ.๒๓๙๙ ปีมะเส็ง ๒๔๐๐. พระนคร : โรงพิมพ์ไท, ๒๔๖๖. (๒)

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๔ : ประกาศปีมะเมีย พ.ศ.๒๔๐๑. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. (พิมพ์ในงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ ครบศตมาห ณ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๖).

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๕ : ประกาศปีมะแม พ.ศ.๒๔๐๒ ปีวอก พ.ศ. ๒๔๐๓ ปีระกา พ.ศ.๒๔๐๔. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. ( พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ณ เมรุท้องสนามหลวง เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๖).

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาค ๖ : ประกาศปีจอ พ.ศ.๒๔๐๕ ปีกุน พ.ศ. ๒๔๐๖ ปีชวด พ.ศ.๒๔๐๗. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. (๓)

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ภาคปกิรณะกะ : ส่วนที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖. ( พิมพ์ในงารพระราชทานเพลิงศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ณ พระเมรุวัดเทพศิรินทร เมื่อปีขาล พ.ศ.๒๔๖๙).

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕ . กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ , ๒๕๓๓. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันตำรวจเอก (พิเศษ) บุญเพ็ญ แขวัฒนะ ต.ช. ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๓๓ )

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๐ จดหมายเหตุของพระณรงค์วิชิต (จอน บุนนาค) เรื่องราชฑูตไทยไปประเทศฝรั่งเศส ในรัชกาลที่ ๔ เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๔๐๔. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๗. ( พิมพ์ในงารพระราชทานเพลิงศพ นายพันตรี หลวงศรีเสารุธ (เจิม โชติดิลก) เมื่อปีชวด พ.ศ.๒๔๖๗). (๒) (สำเนา ๑ ฉบับ)

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๕๒ จดหมายเหตุเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต : พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเรียบเรียงทูลเกล้าฯ ถวาย. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรตธนาคร, ๒๔๗๒. (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร ครบสัปตมวาร ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๒).

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๒ เรื่องทูตฝรั่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๐๖. ( คณะข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายเทียม ลดานนท์ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๑ กรกฎาคม ๒๕๐๖) (๒ ล.)

ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ ภาคปกิณณกะ ภาค ๑. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๙๓. (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทาน ในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง พุทธศักราช ๒๔๙๓).

ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ และนิพนธ์ของพระอมราภิรักขิต (เกิด). กรุงเทพมหานคร : พุทธอุปถัมภ์การพิมพ์, ๒๕๑๖. (วัดบรมนิวาส พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรมดิลก (ทองดำ จนฺทูปโม ป.ธ.๗) ณ เมรุหน้าพลับพลาราชอิสริยาภรณ์วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๑๖).

ประชุมพระราชนิพนธ์ภาษาไทย ในรัชกาลที่ ๔ ภาค ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๑๒. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นางแจ่มวิชชาสอน (ผิน นิยมเหตุ) วันที่ ๒๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒).

ประชุมพระราชปุจฉา ภาคที่ ๕ : เปนพระราชปุจฉาในรัชกาลที่ ๔ กับรัชกาลที่ ๕. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๕. (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช โปรดให้พิพม์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายร้อยเอกหม่อมเจ้าทินทัต เมื่อปีจอ พ.ศ.๒๔๖๕).

ประพัฒน์ ตรีณรงค์. " พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ กับการสถาปนาวัดสุทัศนเทพวราราม, " มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๑-๒๑.

_______________ . " วัดมกุฏกษัตริยาราม, " มรดกของชาติ เล่ม ๕. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๗. หน้า ๖๔-๙๐.

_______________ . "สมเด็จพระบวรราชเจ้า," บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการจัดทำเอกสารและบทความสดุดีบุคคลสำคัญ. เล่ม ๗. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหมิตรพริ้นติ้ง, ๒๕๔๖. หน้า 9-16. (AC158 ส-บ 2546)

ประเพณีรับราชทูต. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๒๘. (อนุสรณ์พระราชานเพลิงศพ นายไพบูลย์ เมาลานนท์ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๘)

ประมวลพระรูป สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. [ ม.ป.ป. : ม.ป.พ.], ๒๕๑๔. (มหามกุฎราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์ในงานมหาสมณานุสรณ์ครบ ๕๐ ปี แต่วันสิ้นพระชนม์แห่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วันที่ ๑-๗ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๔.

ประมวลพระรูป สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์. กรุงเทพฯ : ศิวพร, ๒๕๑๕. ( มหามกุฎราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดพิมพ์ในงานวชิรญาณวงศานุสรณ์ ครบ ๑๐๐ ปี นับแต่วันประสูติ แห่งสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ วันที่ ๒๑-๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๕.

ประเมษฐ์ บุณยะชัย. "การละครยุคต้นรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ - ๕". ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๒๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, [ม.ป.ป.].

ประยุทธ สิทธพันธ์. เงินตราสยาม. นนทบุรี : ลือสาส์น, [ ม.ป.ป.].

_______________ .พระมหากษัตริย์กับประวัติศาสตร์ตำรวจสยาม. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์, ๒๕๑๙.

_______________ . วรรณกรรมสยาม. กรุงเทพฯ : สยาม, [ม.ป.ป.].

_______________ . วังเจ้า. กรุงเทพฯ : บุญประกอบ, ๒๕๒๑.

_______________ . สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม ๒ เล่ม. กรุงเทพฯ : สยาม, ๒๕๑๖.

_______________ . และวิสุทธ์ ทิพารัตน์. ราชสำนักสยาม ชุดพิเศษ. กรุงเทพฯ : สยาม, ๒๕๑๖.

ประวัติพระแก้วมรกต และพระสยามเทวาธิราช. กรุงเทพฯ : มูลนิธินวมราชานุสรณ์, [ม.ป.ป.]

ประวัติวัดมกุฎกษัตริยาราม ราชวรวิหาร. พระนคร : โรงพิมพ์การศาสนา, [ม.ป.ป.]. ( พิมพ์เป็นที่ระลึกในงานฉลองครบ ๑๐๐ ปี ๑๘ มกราคม ๒๕๑๑).

ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ - รัชกาลที่ ๓ พ.ศ.๒๓๒๕ - พ.ศ.๒๓๙๔ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็น ที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๓ พ.ศ.๒๔๗๕-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) : จากบันทึกของ มหาอำมาตย์ตรี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันท์). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑. (ที่ระลึกในการพระราชทานเพลิงศพเป็นกรณีพิเศษ นางวิสิฐธารารักษ์ (สอิ้ง รักตะบุตร) ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๑).

ประสิทธิ์ ขันธีวิทย์. "วิสุงคามสีมา, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๑๓ วรเชษฐาราม, วัด - สมุทรปราการ, จังหวัด. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๖๑๐๔ - ๖๑๐๕. ( จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒)

ปรามินทร์ เครือทอง. พระจอมเกล้า “KING MONGKUT” พระเจ้ากรุงสยาม . กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๗.

ปวเรศวริยาลงกรณ์, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา. โคลงเรื่องพระราชประวัติ พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๐. (แจกในการพระกฐินพระราชทาน พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ณ วัดกัลยาณมิตร พระพุทธศักราช ๒๔๗๐).

ปาลเลกัวซ์, มงเซเญอร์ (สันต์ ท. โกมลบุตร แปล). เล่าเรื่องกรุงสยาม โดยมงเซเญอร์ ปาลเลกัวซ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ก้าวหน้า, ๒๕๒๐.

ปิยนาถ บุนนาค. บทบาททางการเมืองการปกครองของตระกูล " บุนนาค". กรุงเทพฯ : ดวงกมล, ๒๕๒๐.

ปิยะรังสิต รังสิต. เกิดวังไม้ : เรื่องวังสมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย, ๒๕๒๘. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอยปีแห่งพระชนมายุของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๒๘)

ผุสดี ทิพทัส. บ้านในกรุงรัตนโกสินทร์ 2 : รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ.๒๓๙๔ - พ.ศ.๒๔๕๓) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕.



พ.สุวรรณ (นามแฝง). โหราศาสตร์และคาถาพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : สร้อยทอง, ๒๕๓๙.

พงษ์ศักดิ์ สิงหะนัด. วิเคราะห์บทไหว้ครูโขน-ละคอน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิธนาคารกรุงเทพฯ, ๒๕๓๘.

พระเจตนาถ จินดามพร. (อธิจิตโต ภิกขุ), ผู้รวบรวม. "ประวัติศาสตร์ราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร". ราชประดิษฐ์ศึษยานุสรณ์ ๒๕. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๕.

พระเทพมงคลสุธี. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการพระศาสนา : พระราชประวัตินานานิพนธ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. (ธนาคารอาคารสงเคราะห์ จัดพิมพ์เผยแพร่เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗) (DS581 พ-พ 2547)

พระราชธรรม พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ๒๕๔๒.

พระณรงค์วิชิต (จอน บุนนาค). ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๓๐ : เรื่องจดหมายเหตุราชฑูตไทยไปประเทศฝรั่งเศส ในรัชกาลที่ ๔ เมื่อปีระกา พุทธศักราช ๒๔๐๔ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๑๙. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางกิมเฮียง เหลืองภิรมย์ ณ เมรุวัดใหญ่สีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา วันที่ ๑๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙)

พระนครคีรี (Phra Nakhon Khiri ). พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๐.

พระนิรันตรญาณมุนี. ชมดาว. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๑๕.

พระบรมราชานุศาสนีของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๗๐. (คุณหญิงเวียงในนฤบาล (นิล โอสถานนท์) พิมพ์ในการปลงศพสนองคุณ ขุนพิไลยโลหการ (เย็น อ้นอำไพ) ผู้บิดา เมื่อปีเถาะ พ.ศ.๒๔๗๐).

พระประวัติโดยสรุปของสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ๑๗ พระองค์. กรุงเทพฯ : พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๑๗. ( ฉบับอุทิศส่วนกุศลถวายแด่สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) แห่งวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม)

" พระประวัติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช" สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๘. หน้า ๕๙-๙๙.

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์). ตำนานกรุงเก่า. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัทสหอุปกรณ์การพิมพ์, ๒๕๐๒.

พระราชกวี และคณะ. ประวัติวัดราชาธิวาสวิหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุรวัฒน์, ๒๕๔๓. ( จัดพิมพ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ พระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาคเถร) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสวิหาร กรรมการมหาเถร สมาคม และแม่กองธรรมสนามหลวง ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันอังคารที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๓).

พระราชธรรมพระราชประวัติพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว . กรุงเทพฯ : ธรรมสถาน. สถาบันบันลือธรรม, ๒๕๔๒. พระราชประวัติของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ (พระนางเรือล่ม). กรุงเทพฯ : บางลำภูการพิมพ์ , [ม.ป.ป.]

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : หจก.วัชระการพิมพ์, ๒๕๒๑. (ที่ระลึกในงานพระราชทาน เพลิงศพ หม่อมเจ้ารัตโนภาศ กาญจนะวิชัย ณ วัดธาตุทอง ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๑).

พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. [ กรุงเทพฯ] : มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม, [ม.ป.ป.]  

พระราชประวัติ และพระราชนิพนธ์บางเรื่องในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์ , ๒๕๐๕. (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ พระบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐ์ฐาสารี ณ พระเมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๐๕). (๒)

พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค ) . กรุงเทพฯ : ต้นฉบับ, ๒๕๔๗. (สำนักพิมพ์ต้นฉบับ จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในมหามงคลแห่งการพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี พ.ศ.๒๕๔๗) [DS581 พ 2547]

พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค ) และลิลิตยอพระเกียรติแลโคลงพระนามพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ ๔. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : ต้นฉบับ, ๒๕๔๗. (สำนักพิมพ์ต้นฉบับ จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในมหามงคลแห่งการพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ และในโอกาสที่พลตรี ม.ร.ว.ศุภวัฒย์ เกษมศรี ครบรอบ ๗๒ ปี ในวันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗) [DS581 พ 2547]

พระราชสาส์น ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานไปยังประเทศต่างๆ ภาค ๑. พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, ๒๕๐๑. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร ณ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๑).

พระราชสาส์น ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานไปยังประเทศอังกฤษ. [ ม.ป.ท.] : บริษัท จ. ศิลป จำกัด, ๒๕๐๒. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงรัตนเทพ (นพวรรณ บุรณศิริ) ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม ๙ พฤษภาคม ๒๕๐๒).

พระราชหัตถเลขา ในรัชกาลที่ ๔ (รวม ๘ ฉบับ). [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๔๖๕. พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๐๙. (มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย พิมพ์ในการรับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์ พระธรรมปาโมกข์ วัดราชผาติการาม เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะที่ พระพรหมมุนี ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๐๙).

พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๑. (ในงานฉลองครบ ๘๔ ปี มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ๑-๕ ตุลาคม ๒๕๒๑).

"พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ มีไปถึงเซอร์จอห์น เบาริง ผู้ว่าราชการเกาะฮ่องกงเล่าถึงราชสกุลวงศ์จักรี," ใน สมเด็จพระปฐมบรมชนกนาถ. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๔๔. หน้า ๑๐๑-๑๐๙.

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : ภาคที่ ๕. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๘. (พระโสภณอักษรกิจ พิมพ์ช่วย ในงานปลงศพ นามไน้ ณ วัดสระเกษ เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ.๒๔๗๘).

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : ลอกจำนวนรวมครั้งที่ ๓ ที่ ๔ แลเพิ่มเติมอีก. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๓. (สมเด็จกรมพระสวัสดิ์วัดนวิศิษฎ ทรงชำระใหม่แล้วโปรสให้พิมพ์แจกในงาน เมรุหม่อมเจ้าในกรม ณ วัดราชาธิวาส เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๓). ( ๒)

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : รวมครั้งที่ ๓ . พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร , ๒๔๖๕.

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : รวมครั้งที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๖๙. (พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ โปรดให้พิมพ์ เมื่อปีขาล พ.ศ.๒๔๖๙).

พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : รวมครั้งที่ ๕. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๕๐๕. ( พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปณกิจศพ นางอำนาจณรงค์ราญ (สำราญ เพ็ญกูล) ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม ๙ ธันวาคม ๒๕๐๕.

พระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : รวมครั้งที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๓. (สมเด็จกรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ โปรสให้พิมพ์ขึ้นอีกเมื่อปีมะเมีย ๒๔๗๓). (๒)

พระราชหัตถเลขา ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : รวมครั้งที่ ๖. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๐. (สมเดจพระเจ้าบรมวงศเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ โปรดให้พิมพ์ในการบำเพญ พระกุศลพระชนมายุสมมงคล เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๐).

พระราชานุกิจ. พิมพ์เป็นครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, ๒๕๒๖. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ ๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๖).

พระสาสนโสภณ. (สุวฑฒโน). "พระอัจฉริยภาพทางภาษาบาลี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว". อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ครบรอบ ๑๐๘ ปี : ภาคที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

พระอุดรคณาภิรักษ์ (กิตติวุฑโฒภิกขุ). เรื่องพระสยามเทวาธิราช. กรุงเทพฯ : สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย, ๒๕๒๕.

พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. เล่าเรื่องเมืองสยาม. กรุงเทพฯ : เอ็ม บี เอ, [ ม.ป.ป.].

________________ . สมเด็จพระปฐมบรมชนกนาถ : พระชนกนาถแห่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช พระปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๔๑.

________________ . และคนอื่น ๆ. สมเด็จพระจอมเกล้าพระเจ้ากรุงสยาม. กรุงเทพฯ : เอ็ม บี เอ, ๒๕๓๖.

________________ . แหม่มแอนนา. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๔๓.

________________ . อานุภาพพระสยามเทวธิราช. กรุงเทพฯ : บันทึกสยาม, ๒๕๓๙. (DS 578.3 พ-อ 2539)

พิพัฒน์ พงศ์รพีพร. ภาพมุมกว้างของกรุงเทพพระมหานครในสมัยรัชกาลที่ ๔ : การค้นพบใหม่. [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๕๔๒. (จัดพิมพ์เพื่อเฉลิมฉลองวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมายุครบ ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ และที่ระลึกในการเปลี่ยนศตวรรษ ค.ศ. ๒๐๐๐)(2)

พุทธศรัทธา ( The Faith of Buddhist) : ประมวลภาพและประวัติวัดสำคัญ ๆ ทั่วประเทศ. กรุงเทพฯ : เสียงประชา, [ม.ป.ป.].

พูนพิศมัย ดิศกุล, ม.จ. สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : มีเดียโฟกัส, ๒๕๓๔.


เพ็ญศรี ดุ๊ก. " การดำเนินนโยบายเพื่อความอยู่รอดและการต่อสู้เพื่ออำนาจอธิปไตยในทางการศาลและ อัตราภาษีศุลกากร". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์ , ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

_________ . การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย ( ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ ถึงสิ้นสมัยจอมพลป. พิบูลสงคราม). กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาการพิมพ์, ๒๕๒๗.

เพลินพิศ กำราญ. "นาคหลวง, " วัดบวรนิเวศวิหาร และมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พิมพ์โดยเสด็จ พระราชกุศล ในการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ ณ พระเมรุมาศท้องสนามหลวง วันที่ ๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๘.

_____________ . "พระราชพิธีฉัตรมงคล, " มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๒๙-๓๔.



ไฟน์สโตน, เจฟฟรี. จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย (The Royal Family of Thailand : the Descendants of King Chulalongkorn). กรุงเทพฯ : พิษณุโลกการพิมพ์, ๒๕๓๒.



ภาพประวัติศาสตร์ราชวงศ์จักรีกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : มังกรทองทองซัพพลายส์, [ม.ป.ป.].

ภาพรามเกียรติ์. พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๙๕. ( พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงถ่ายและโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาชัยนาทนเรนทร).

ภาวาส บุนนาค. พระปรมาภิไธย : สมเด็จพระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายบูชาพระมหากรุณาธิคุณ ในการพระราชพิธีสมมงคล ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๓)

ภูธร ภูมะธน. "เรือในภาคกลาง : ประวัติการต่อเรือและขุดเรือ, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๑๒ ระบำ - วชิราวุธวิทยาลัย, โรงเรียน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๕๖๒๓ - ๕๖๒๔.



มงคล เดชนครินทร์. “ เรื่องเมืองไทยบางเรื่องจากบันทึกของหมอบรัดเล” . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. มนูญ สังข์เผือก. " พระราชมรดกวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม". อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ครบรอบ ๑๐๘ ปี : ภาคที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

มหาชาติ : พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๙. (พิมพ์แจก ในงาน พระราชทานเพลิงศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป ณ พระเมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๙).

มหาชาติ : พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๐๘. (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้พิมพ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าจงกลนี วัฒนวงศ์ ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๐๘).

มหามกุฏราชานุสสรณีย์ (คณะธรรมยุต และมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยเสด็จพระราชกุศล เฉลิมพระเกียรติ สมัยครบ ๑๐๐ ปี จากวาระเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหากุฏ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๑ ตุลาคม พระพุทธศักราช ๒๕๑๑). กรุงเทพฯ : [ม.ป.พ.], ๒๕๓๕. ( ที่ระลึกเนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์บรรจบ ยันตดิลก ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน กทม. วันเสาร์ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๕) (DS 581 ม 2511) ( ๓)

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. พระอัจฉริยะภาพ ร.๔ : ที่ระลึกในวโรกาสแห่งวันพระราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.

มหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงานขั้นสมบูรณ์โครงการวางผังเฉพาะแห่งในพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์บริเวณชุมชนท่าพระจันทร์ : ด้วยการ มีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๓. (NA 9090 ม - ร 2543)

มอฟแฟ็ท, แอ็บบ็อต โลว์. แผ่นดินพระจอมเกล้า. แปลโดย นิจ ทองโสภิต. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ๒๕๒๐.

มานิจ ชุมสาย , ม.ล. พระมงกุฎและชาวอังกฤษ. กรุงเทพฯ : เฉลิมนิจ, ๒๕๔๕. มัลคอล์ม, สมิธ. หมอฝรั่งในสยาม (A Physician at the Court of Siam ). กรุงเทพฯ : รวมทรรศน์, ๒๕๔๒.

มุกด์ สอาด. " เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต". อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ครบรอบ ๑๐๘ ปี : ภค.ที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

เมืองไทยของเรา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๕. ( คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อจัดทำหนังสือ เกี่ยวกับประเทศไทย สำหรับเยาวชน จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบห้ารอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๕)

เมืองไทยเมื่อหนึ่งร้อยปี จากบันทึกการเดินทาง ของ คาร์ล บ็อค (Thailand a hundred years ago, from a narrative of the norwegian : Carl Bock) . กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, [ ๒๕๓๐].




รอง ศยามานนท์. "การปฏิรูปทางการคมนาคม ขนส่งและการสื่อสาร". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

_____________ . "การป้องกันประเทศ". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

ราชกิจจานุเบกษา ในรัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ขึ้น ปีมเมียสัมฤทธิศก ๑๒๒๐ แลปี มแม เอกศพ ๑๒๒๑ ต่อกัน ๒ ปี. พิมพ์ครั้งที่ ๒. พระนคร : โรงพิมพ์อักษรพิมพการ, ๒๔๓๔.

ราชกิจจานุเบกษา ในรัชกาลที่ ๔. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง, ๒๕๓๗. ( พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์หนังสือราชกิจจานุเบกษาในรัชกาลที่ ๔ พระราชทานเป็นอนุสรณ์วิทยาทาน แก่นายประกอบ หุตะสิงห์).

ราชสกุลวงศ์ และพระราชประวัติบางส่วนในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. [ ม.ป.ท. : ม.ป.พ.], ๒๕๒๘. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนางสนิธวรรณ บุณยศิริพันธ์ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๒๘).

ราชสกุลวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศ มหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. พระนคร : โรงพิมพ์จันหว่า, ๒๕๑๔.

ราชสกูลวงศ์ : พระนามเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้าในกรุงรัตนโกสินทร. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๕. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รองอำมาตย์เอก หลวงบริจิตหัตถกรรม (เอี่ยม ตัณฑโกไศย) ปีวอก พ.ศ.๒๔๗๕).

เรื่องเฉลิมพระยศเจ้านาย ฉะบับมีพระรูป. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง, ๒๕๓๘.



ลักษณการเกี่ยวข้องแก่คนบังคับต่างประเทศ ตามสัญญาทางพระราชไมตรี. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง, ๒๕๔๓. ( ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พิมพ์พระราชทาน ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงพีระพงษ์ เกษมศรี ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๓)

แลนด์ดอน, มาร์กาเร็ต. แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม (Anna and the King of Siam ). พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, ๒๕๑๓.



วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา. ตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร. พระนคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๐๕. ( เจ้าภาพพิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายแจ้ง พรหมรัตนพงศ์ ณ ฌาปนสถานวัดมกุฏกษัตริยาราม ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๐๔).

วรินธรรม อโศกตระกูล. " ค่านิยมและบรรทัดฐานของครอบครัวในสังคมไทย สมัยรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๖, " เรียงความ/ บทวิชาการ ฉบับที่ได้รับรางวัลเงินทุนภูมิพล ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔. หน้า ๒๖๕-๒๙๐.

วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร. เฉลิมพระเกียรติในด้านการพระศาสนา : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔. (คุณหญิงปัญจา ประจวบเหมาะ จัดพิมพ์เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ นายเฉลิม ประจวบเหมาะ)

วัลลภ สวัสดิวัลลภ. หนังสือและการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : กรมการฝึกหัดครู, ๒๕๓๕.

วัลย์วิภา บุรุษรัตนพันธุ์. แนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗. (วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗) (DS581 ว-น ๒๕๔๗).

วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์. "สังคมในกรุงเทพฯ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น". ดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๒๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, [ม.ป.ป.].

วิจิตรวาทการ , หลวง. ตำนานพระพุทธสิหิงค์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร , ๒๔๗๘. (กรมศิลปากรพิมพ์แจก แก่ผู้ที่บริจาคทรัพย์บูชาพระพุทธสิหิงค์ ในงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๔๗๘) .

วิชิต สุวรรณปรีชา. ยอยศพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์, ๒๕๔๔.

_____________. ยอยศพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์, ๒๕๔๓.

วิบูล วิจิตรวาทการ. ชีวิตสาวชาววัง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : มีเดียโฟกัส , ๒๕๓๔.

วิบูล วิจิตรวาทการ. แผ่นดินพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, ๒๕๔๔.

วิยะดา ทองมิตร. "จิตรกรรมสกุลช่างขรัวอินโข่ง, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๔ จิตรกรรมไทย - ชื่น หัตถโกศล, นาย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๑๕๐๔ - ๑๕๑๔. ( จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS568 ม - ส 2542)

วิลาศวงศ์ พงศะบุตร. "การสืบราชสมบัติ". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

วิไลเรขา ถาวรธนสาร... [ และคนอื่น ๆ]. พื้นฐานวัฒนธรรมไทย (Foundations of Thai Culture). พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๖.

วีระ ธีระภัทรานนท์. เรื่องเก่าเล่าใหม่ : รวมข้อคิดจากพงศาวดารและตำนานเก่า. กรุงเทพฯ : มปพ., ๒๕๔๓.

วุฒิชัย มูลศิลป์. "การปฏิรูปทางการศึกษา". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕.(คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

___________ . "การปฏิรูปทางเศรษฐกิจและการคลัง". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).


วุฒิชัย มูลศิลป์. "การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

เวนิสา เสนีวงศ์. เจ้าจอมรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊คส์, ๒๕๔๐.

____________ . เจ้าพี่เจ้าน้องของรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊คส์, ๒๕๔๑.

____________ . เรื่องลือในวังครั้งอดีต. กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊คส์, ๒๕๔๑.

วอร์เรน, วิลเลียม.ประเทศไทย : ๗ วันในราชอาณาจักร. แปลโดย สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา และคนอื่น ๆ. สิงคโปร์ : Times Editons, ๒๕๓๐.



ศักดา ศิริพันธุ์. กษัตริย์ และกล้อง : วิวัฒนาการการถ่ายภาพในประเทศไทย พ.ศ.๒๓๘๘-๒๕๓๕. (King & Camera : evolution of photography in Thailand 1845-1992) กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, ๒๕๓๕.

____________ . " วิวัฒนาการการถ่ายภาพในประเทศไทย, " รายงานประจำปี ๒๕๓๕ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก, มปป. (JQ 1746.Z 3รถ ร - ร)

ศัลวิธานนิเทศ, พลโทพระยา. " สุริยุปราคา ๔ ครั้งในประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๑๑, ๒๔๑๘, ๒๔๗๒, ๒๔๙๘, " สุริยุปราคาเต็มดวงในประเทศไทย ๒๔ ตุลาคม ๒๕๓๘. กรุงเทพฯ : สมาคมดาราศาสตร์ไทย, ๒๕๓๘.

ศิริชัย นฤมิตรเรขการ. สะพานเก่ากรุงเทพฯ (Old Bridges of Bangkok). กรุงเทพฯ : สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๒๐.

ศิลป โหรพิชัย. "คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ภาค 2, " เส้นทางเศรษฐกิจ ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ, [ ม.ป.ป.]

ศิลปากร, กรม. ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๔๐๕ - ๒๔๑๑. พระนคร : เหรีญทองการพิมพ์, ๒๕๑๑.

___________ . กองจดหมายเหตุแห่งชาติ. จดหมายเหตุแห่งการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย์, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

___________ . กองจดหมายเหตุแห่งชาติ.ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๑ : สมุดภาพประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, ๒๕๒๕. ( จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

ศิลปากร, กรม. กองโบราณคดี. นำชมกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

___________ . กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์. ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่ม ๔ : วัดสำคัญกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : ยูไนเต็ดโปรดัคชัน, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

____________ . กองศิลปศึกษา. สมุดภาพจิตรกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ (Rattanakosin Painting). กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๖. ( จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

____________ . กองหอสมุดแห่งชาติ และกองวรรณคดีประวัติศาสตร์. ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๒ : ภาษาและวรรณคดีกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เนื่องในการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี).

____________ . กองหัตถศิลป. ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่ม ๖ : ศิลปกรรมกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : ยูไนเต็ดโปรดัคชัน, ๒๕๒๕. ( จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี).

ศิลปากร, มหาวิทยาลัย. คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและการพิมพ์. สมุดภาพจิตรกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ (Sculptures of Rattanakosin ). กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เนื่องในการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

__________________ . คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์.สมุดภาพสถาปัตยกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ (The Architectural Pictures of Rattanakosin). กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, ๒๕๒๕. ( จัดพิมพ์เนื่องในการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๒ ภาษาและวรรณคดี กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๔ วัดสำคัญ กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๕ ศิลปวัตถุ กรุงรัตนโกสินทร์ . กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. ( กรมศิลปากรจัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๖ ศิลปกรรม กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. (กรมศิลปากร จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๗ นาฏดุริยางคศิลปไทย กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลปวัฒนธรรมไทย เล่มที่ ๘ โบราณสถานและอนุสาวรีย์กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ จารึกพ่อขุนรามคำแหง ( อ่านและจัดทำคำอธิบายโดยที่ประชุมสัมนาเรื่องศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ณ หอสมุดแห่งชาติ). [ม.ป.ท.] : ๒๕๒๐.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. กรมวิชาการ. แนวพระราชดำริเก้ารัชกาล. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๒๗. (พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพ นายแพทย์ ม.ร.ว.อุดมพร เกษมสันต์).

ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. "จีนในภาคกลาง : การควบคุมชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการปฏิรูปการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๓๕, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๔ จิตรกรรมไทย - ชื่น หัตถโกศล, นาย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๑๕๑๘ - ๑๕๒๙. (DS568 ม - ส 2542)

ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. "จีนในภาคกลาง : สถานภาพและบทบาทในสมัยรัตนโกสินทร์, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๔ จิตรกรรมไทย - ชื่น หัตถโกศล, นาย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๑๕๖๒ - ๑๕๗๑ . (DS 568 ม - ส 2542) ศุภวัฒย์ เกษมศรี , ม.ร.ว. "การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม". ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕). ส. ธรรมยศ. Rex Siamen Sium หรือพระเจ้ากรุงสยาม. พระนคร : [ ม.ป.พ.], [๒๔๙๔]. (ฉบับสำเนา).



ส.พลายน้อย (นามแฝง). เกร็ดหนังสือภาษาไทย เล่ม ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, ๒๕๓๗.

___________________ . พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : บำรุงสาส์น, ๒๕๓๐. ส. พลายน้อย (นามแฝง). พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดำ, ๒๕๔๔.

___________________ . พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวกษัตริย์วังหน้า. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๓.

ส. ศิวรักษ์. ฉลอง ๒๐๐ ปี พระเจ้ากรุงสยาม. กรุงเทพฯ : ศยาม, ๒๕๔๘. [DS581 ส-ฉ 2548]

ส่งศรี ประพัฒน์ทอง. " พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของไทย, " มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริม สร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๖๐-๖๕.

ส่งศรี ประพัฒน์ทอง และคนอื่น ๆ . พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการพิพิธภัณฑ์ไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๓๖. (กรมศิลปากร จัดพิมพ์เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระเกียรติ ๒๐๐ ปี วันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๖).

ส่งศรี ประพัฒน์ทอง และคนอื่นๆ. พระมหากษัตริย์ไทยกับการพิพิธภัณฑ์. กรุงเทพฯ : กราฟิคฟอร์แมท ( ประเทศไทย) จำกัด, ๒๕๔๑. ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๓๙ โดยคณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี) (GN 36.T 7 ส - พ 2541)

สดับ ธีรบุตร.เงินพดด้วง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : กรมธนารักษ์, ๒๕๒๘.

สถาบันภาษาศาสตร์. ปทานุกรมฉบับหลวง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ประจักษ์การพิมพ์, [ม.ป.ป.].

สถาบันราชภัฏเทพสตรีจังหวัดลพบุรี. ข้อมูลพบใหม่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช : เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ, ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๓. ลพบุรี : สถาบันราชภัฏเทพสตรีจังหวัดลพบุรี, 2543. (DS577 ส-ข 2543]

สภาคริสตจักรในประเทศไทย. ๗๐ ปีแห่งพระพร : สภาคริสตจักรในประเทศไทย ๑๙๓๔ - ๒๐๐๐๔. กรุงเทพฯ : สภาคริสตจักรในประเทศไทย, ๒๕๔๗.

สมชัย พิชัยธนาลัย. " สถาบันสงฆ์กับสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น, "เรียงความ/บทวิชาการ ฉบับที่ได้รับรางวัลเงินทุนภูมิพล ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๔-๒๕๔๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔. หน้า ๘๙-๑๐๒. (PN 234 จ-ร 2544)

สมเด็จพระญาณสังวร (สุวฑฺฒโน). พุทธศาสนาวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.

สมเด็จพระปิยมหาราช กับนักเขียนฝรั่งเศส. นนทบุรี : มูลนิธิเอกชนพัฒนาภูมิภาค, [ม.ป.ป.] (DS 582 ส)

สมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎพระจอมเกล้ากรุงสยาม : เฉลิมพระเกียรติพระราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สุรพิมพ์, ๒๕๔๗. (DS581 ส 2547]

สมบัติ จำปาเงิน. ประวัตินักวิทยาศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ :บรรณกิจ, ๒๕๓๓.

สมบูรณ์ ธรรมครองอาตม์ " การปฏิรูปทางการศาล".ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒ : รัชกาลที่ ๔ - พ.ศ.๒๔๗๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๕. ( คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕).

สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร. บันทึกเรื่องเมืองสยาม. กรุงเทพฯ : ประจักษ์การพิมพ์, [ม.ป.ป.].

สมพันธุ์ เลขะพันธุ์. " หัวเลี้ยวหัวต่อทางวรรณกรรมไทย สมัยรัชกาลที่ ๔, " วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๓๐. น. ๑๘-๓๕. (PL 4226 ส-ว 2530)

สมภพ จันทรประภา. สมเด็จพระศรีสวรินทิรา พระบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรสมัย, ๒๕๑๔.

สมภพ ภิรมย์ (ร.น.), น.อ. พระเมรุมาศ พระเมรุ และเมรุสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๘.
( ๒)

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, ท่านผู้หญิง. " พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว, " สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๘. หน้า ๑๔-๑๙.

_________________________________ . "ไหว้แบบไทย, " บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการจัดทำเอกสาร และบทความสดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๙. หน้า ๑๔๑-๑๔๔.

สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย. วิทยาศาสตร์ ๒๐๐ ปี รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กราฟิคอาร์ต, ๒๕๒๕. ( จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)

สมุดภาพวัดอรุณราชวราราม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ (๑๙๘๔), ๒๕๓๔. (กรุงเทพมหานครจัดพิมพ์ในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๓ รอบ นักษัตร ๒ เมษายน ๒๕๓๔)

สยามฯ ในความทรงจำ (Some events & pictorial of old Saim). กรุงเทพฯ : ไพลินคอมพิวกราฟฟิค, [ ม.ป.ป.]

สันติ เล็กสุขุม. "จิตรกรรมไทยในอดีต, " มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๕๕-๕๙.

สายไหม จบกลศึก. "ท้าววรจันทร์ : เจ้าจอมมารดาวาดในรัชกาลที่ ๔, " นารีผู้มีคุณ เล่ม ๔. กรุงเทพฯ : สำนักงาน เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๑. หน้า ๙-๑๕.

สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. เฉลิมพระเกียรติพระราชวงศ์ฝ่ายใน เล่ม ๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๕.

____________________________ . พระบรมราชจักรีวงศ์กับกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๗.

สำนักผู้บัญชาการทหารสูงสุด. พระก่อพระเกื้อหล้า. กรุงเทพฯ : สำนักงานสารนิเทศ สำนักผู้บัญชาการ ทหารสูงสุด, [ม.ป.ป.]

สำนักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร ๒๕๒๗. กรุงเทพฯ : เอ็ม ไอ ซี ครีเอชั่น, ๒๕๒๗.

สำนักพระราชวัง. รวมเรื่อง และข้อปฏิบัติเกี่ยวกับราชสำนัก. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักพระราชวัง, ๒๕๒๘.

สำนักราชเลขาธิการ. ประวัติสำนักราชเลขาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, ๒๕๓๑.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ฉบับสำนักเลขธิการคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๒๓. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ์, ๒๕๒๓. ( จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๘๐ พรรษาในวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๓).

________________________ . หนังสือที่ระลึกราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, ๒๕๓๗. สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม. เทอดพระเกียรติพระบรมราชจักรีวงศ์ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๒๖. ( สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม จัดพิมพ์เผยแพร่ ๖ เมษายน ๒๕๒๖)

สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. ของดีโคราช. เล่มที่ ๑, สาขามนุษยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, ๒๕๔๑. หน้า ๑๖๘. (สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสีมา จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนม- พรรษา ๖ รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และวาระครบรอบ ๘๔ ปี สถาบันราชภัฏนครราชสีมา ๒๕๔๑)

สิงห์โต ปุกหุต. พระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, ๒๕๒๗. สิทธา พินิจภูวดล. " วรรณกรรมสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, " ความรู้ทั่วไปทางวรรณกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ดวงกมล, ๒๕๒๐. หน้า ๒๖๑-๓๓๓.

_____________ . "วิวัฒนาการของหนังสือพิมพ์ไทย, " ความรู้ทั่วไปทางวรรณกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ดวงกมล, ๒๕๒๐. หน้า ๓๓๓-๓๔๐.

สิริ เปรมจิตต์. พระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : เสียงไท, ๒๕๒๒.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. "ราชอาณาจักรสยาม, " แม่น้ำเจ้าพระยา : มารดาแห่งสยามประเทศ. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๒.

สุทนต์ ขวัญนคร และวิวะรา สอนชัยภูมิ. พระจอมเกล้าฯ กรุงสยาม : พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกษัตริย์กรุงสยาม รัชกาลที่ ๔ เปิดประตูสยามสู่อารยประเทศ (King Rama IV : the Great King of Siam Lead to the Civilized Countries). กรุงเทพฯ : ธนบรรณ, [ม.ป.ป.] (๒)

สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. ช้างไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, ๒๕๓๗. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ศ.ม.จ. ประวัติวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๓๔.

สุนิสา มั่นคง. พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว : พระเจ้ากรุงสยามองค์ที่ ๒ ในสมับรัชกาลที่ ๔. กรุงเทพฯ : วันเวิร์ล, ๒๕๔๗. [DS581 ส-พ 2547]

สุภา พื้นนาค. พระราชประวัติ ๙ รัชกาล. กรุงเทพฯ : เอกลักษณ์, ๒๕๓๒.

สุวรรณ เพชรนิล. พระจอมปิ่น ๒๐๐ ปี พระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย ๑๙๖ ปี สมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๗.

สุริยะ บุญศักดิ์. ย้อนรอยตลาดเก่าแห่งเมืองสยาม. กรุงเทพฯ :วันชนะ, ๒๕๔๗.

สุริยาวุฒิ สุขสวัสดิ์. พระพุทธปฏิมาในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ. อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ , ๒๕๓๕.

สูจิบัตร การแสดงศิลป และวรรณกรรม เนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสู่สวรรคตครบร้อยปี และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเสวยราชย์ครบร้อยปี ๑-๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๑. พระนคร : เอส.พี.เซอร์วิส เซนเตอร์, ๒๕๑๑. (สำเนา 1 ฉบับ)

เสยย์ เกิดเจริญ. "เขาหลวง, ถ้ำ, " สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม ๒, ขด : เครื่องใช้ - ค้างคาว : สัตว์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๗๒๔ - ๗๒๖. (จัดพิมพ์เนื่องในพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS 568 ม - ส 2542)

แสงสูรย์ ลดาวัลย์, ม.ร.ว. กระบวนพยุหยาตรา. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๕.

______________, ม.ร.ว. สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ : พระปิยมเหสีในรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้าง เอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๕. หน้า ๗-๒๒.

โสมทัต เทเวศร์. เจ้าฟ้าจุฑามณี. พระนคร : แพร่พิทยา, ๒๕๑๓.

โสมรัสมิ์ จันทรประภา, คุณหญิง. " บทความเรื่องสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงษ์ (ดิศ บุญนาค) : บรรยายทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๓, " สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, ๒๕๒๖. หน้า ๘๖-๙๐.



หนังสือจดหมายเหตุฯ (Bangkok Recorder ) เล่ม ๑, จุลศักราช ๑๒๐๖-๑๒๐๗. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง, ๒๕๒๗. ( พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สยามินทราธิราช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์หนังสือ "จดหมายเหตุ บางกอก รีกอเดอ" พระราชทานเป็นอนุสรณ์วิทยาทาน แก่นายสมหมาย ฮุนตระกูล).

หิโตปเทศวัตถุปกรณัม. พระนคร : โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, ๒๔๖๙. (พิมพ์ในงารพระราชทานเพลิงศพ เจ้าจอมมารดากลิ่น รัชกาลที่ ๔ ณ เมรุวัดเทพศิรินทร์ เมื่อปีขาล พ.ศ.๒๔๖๙).

เหรียญกษาปณ์กรุงรัตนโกสินทร์. พ.ศ.๒๓๒๕ - ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : กรมธนารักษ์, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เนื่องในวาระสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี).

เหรียญกษาปณ์เมืองไทย. พระนคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร, ๒๕๑๑. ( พิมพ์เป็นบรรณาการในการฌาปนกิจศพ คุณแม่แช่ม เหล่าสุนทร ณ เมรุวัดหัวลำโพง วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๑).



อนันต์ อมรรตัย. จากเจ้าฟ้ามงกุฏ ถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : ฉัตรเฉลิม, ๒๕๔๑.

_____________ . พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเสนาบดีเอกแห่งตระกูล "บุญนาค". กรุงเทพฯ : ฉัตรเฉลิม, ๒๕๔๑.

_____________ . พระเสด็จมาจากฟ้าไปสู่ฟ้า. กรุงเทพฯ : ฉัตรเฉลิม, ๒๕๔๑.

_____________ . พระวิญญาณห่วงหาอาวรณ์สยาม. กรุงเทพฯ : ฉัตรเฉลิม, ๒๕๔๑.

_____________ . ราชปฎิพัทธ์แห่งพระจอมเกล้าฯ. กรุงเทพฯ : ฉัตรเฉลิม, ๒๕๔๑.

อภินันท์ โปษยานนท์ และคนอื่น ๆ . จิตรกรรมและประติมากรรมแบบตะวันตกในราชสำนัก (Western - style Painting and Sculpture in the Thai Royal Court) ๒ เล่ม. กรุงเทพฯ : สำนักพระราชวัง, ๒๕๓๖. ( สำนักพระราชวัง จัดพิมพ์สนองพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕).

อดุลย์ วิเชียรเจริญ. คำประกาศพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย UNESCO. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, ๒๕๔๗. (สมาชิกราชสกุลสาย ๔ จัดพิมพ์เนื่องในงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี ณ วัดบวรนิเวศวิหาร).

อนุสรณ์ในการพระราชทานเพลิงศพว่าที่ ร.ต.หญิงลินจง โปษยานนท์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมสรรพสามิต, ๒๕๒๐.

อนุสรณ์ในงานเสด็จพระราชทานดำเนิน พระราชทานเพลิงศพพลต.ต. ม.ร.ว. ยุงสุข กมลาสน์ วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นิยมกิจ, ๒๕๒๕.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นาวาตรีหลวงจำเดิมเผด็จศึก ณ สุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส วันจันทร์ที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไฮ้กวง, ๒๕๑๔.

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายเลื่อน เจียมอุดม. กรุงเทพฯ : [ม.ป.พ.], ๒๕๓๘.

อนุสรณ์วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ครบรอบ ๑๐๘ ปี : ภาคที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยเขษม, ๒๕๑๕.

อริยวงศาคตญาณ. (อุฏ ฐายี), สมเด็จพระ. "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ, " อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเลื่อน อินทรางกูร ณ อยุธยา ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันพฤหัสบดีที่ ๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๐. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล, ๒๕๒๐.

อารี สวัสดี. "คราสครูในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, " สุริยุปราคาเต็มดวงในประเทศไทย ๒๔ ตุลาคม ๒๕๓๘. กรุงเทพฯ : สมาคมดาราศาสตร์ไทย, ๒๕๓๘.

อุดม ประมวญวิทย์. ๑๐๐ รัฐบุรุษและประวัติบุคคลสำคัญของโลก. พระนคร : โอเดียนสโตร์, ๒๕๐๕.

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี . พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๗.

อเนก นาวิกมูล. ฝรั่งในเมืองสยาม (Westerners in Siam ). กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๔๒.

___________ . สมุดภาพเมืองไทย เล่ม ๑-๒-๓ (Pictures of the Old Siam 1-2-3). พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โนรา, ๒๕๔๓.



Bacon, George B . SIAM The Land of the white elephant as if was and is . New York : Charles scribner 's sons, 1883. P. 111 - 151.

Brief Sketches of Siam From 1833 to 1909. [S.l. : s.n.], [19-?]

Damrong, H.R.H. Prince . Press-Comments on the Siamese Embassy to England (1857-1858) : with a forword and an introduction on "Siamese Embassies to Europe". Bangkok : Bangkok Times Press, 1928.

Ingram, James C. Economic change in Thailand since 1850. Kuala Lumpur : Oxford University Press, c1955. [HC445 ING 1955 ]

Manich Jumsai, M.L. King Mongkut and Sir John Bowring (From Sir John Bowring 's Personal Files, Kept at the Royal Thai Embassy in London). Bangkok : Chalermnit, 1907.

Moffat, Abbot Low. Mongkut, the King of Siam. New York : Cornell University Press, 1961.

Mouhot, M. Henri Travels in the Central Parts of Indo - China (SIAM), Cambodia, and Laos, During the year 1858, 1859 and 1860. London : John Murray, 1864.

Richter, Anne. The jewelry of Southeast Asia.London : Thames & Hudson, 2000.

Rong Syamananda. A history of Thailand. Bangkok : Thai Watana Panich, 1990. P. 118 - 124.

Sternstein, Larry. Portvait of Bangkok. Bangkok, Allied Printers Limited, 1982. P.18 - 20.

Thailand : a traveller's companion. Singapore : Archipelago, 2000.



นิตยสารและจุลสาร


"ก่อนจะมีถนนราชดำเนิน, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑๒ (ตุลาคม ๒๕๓๕) : ๑๑๔ - ๑๑๘.

กริสโวลด์, เอ.บี. "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยามกับนางแอนนา ลิโอโนเวนส์". ทรงแปลโดย ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ศิลปวัฒนธรรม. ลำดับที่ ๒๔๒ ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ (เดือนธันวาคม ๒๕๔๒) : ๔๙-๕๓.

"การปกครองหัวเมืองชายทะเลในรัชกาลที่ ๔ และต้นรัชกาลที่ ๕, " แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี. ปีที่ ๘ เล่ม ๑-๓ (มกราคม-ธันวาคม ๒๕๑๗) : ๑๐๔ - ๑๘๑.

กำธร เลี้ยงสัจธรรม. "กรณีริบหนังสือกฎหมายในรัชกาลที่ ๓," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๖ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๔๗] : ๑๐๐-๑๑๒.

กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. "เมื่อแรกมีการจัดรูปในประเทศไทย" ความรู้คือประทีป ฉบับเดือนมกราคม-มีนาคม (๒๕๓๘) : ๓ - ๙.

ไกรฤกษ์ นานา. "พบหลักฐานใหม่ในปารีส จดหมายคิงมงกุฎถึงนโปเลียน 'น่าสงสัย'," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๕ (เดือนมีนาคม ๒๕๔๗) : ๑๒๐ - ๑๒๘.

___________. "ร.๔ จัดฉาก 'ราชการลับ' ตบตาเซอร์จอห์น กับแอนนา เอาลาวซ่อนไว้ในเขมร," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๕ (เดือนมีนาคม ๒๕๔๗) : ๑๓๐ - ๑๓๘.

เกษียร เตชะพีระ. "ดูหนัง ดูละคร แล้วย้อนดูตัว" เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๔๐๐ (วันที่ ๓๑ มกราคม - ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓) : ๒๐.

ไขแสง ศุขะวัฒนะ. " พระอภิเนาวนิเวศน์, " วารสารราชบัณฑิตยสถาน. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๓ (มิถุนายน ๒๕๔๒ - กันยายน ๒๕๔๒) : ๔๓ - ๔๖.

"คนอเมริกันให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรก," เหตุเกิดในแผ่นดิน ฉบับรวมเล่ม ๕-๖. : ๑๙ - ๒๕.

คร้าว สุรกานต์. "แรกมีอั้งยี่ในสยาม," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๓๔ - ๔๕.

ควงทวน พิทักษ์ธรรม. "เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ ปราบพระสร้างฝิ่น," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๖ - ๑๒.

"ความลับของพระแก้วมรกต," เหตุเกิดในแผ่นดิน ฉบับรวมเล่ม ๓-๔. เล่ม ๔ : ๑๙-๒๘.

"งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ," สยามจดหมายเหตุ : บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์เดือนตุลาคม ๒๕๔๗. ปีที่ ๒๙ : หน้า 1779.

"จดหมาย," มติชนสุดสัปดาห์. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๑๐๑ (วันอังคารที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๓) : ๗.

จันทร์ฉาย ภัคอธิคม. “ทำเนียบราชินีสยามฐานันดรสูงสุดแห่งภรรยาเจ้า” ศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๕ ( มีนาคม ๒๕๓๖) : ๔๔- ๕๗.

จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "พระนามพระบรมวงศานุวงศ์, " สกุลไทย. ปีที่๔๗ ฉบับที่ ๒๔๐๕ (วันอังคารที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๓) : ๖๔-๖๕.

จุลลดา ภักดีภูมินทร์. " เรื่อง ' แซ่' ของพระราชวงศ์จักรี, " สกุลไทย. ปีที่๔๗ ฉบับที่ ๒๔๐๖ ( วันอังคารที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๓) : ๓๔-๓๕.

ฉัตรชัย ธรรมประเสริฐ. " วันนี้ที่วังเก่าพระนครคีรี" ผาสุก. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๙๐ (๒๕๓๖) : ๔-๘

ชวลิต อังวิทยาธร. "เงินตราของหายาก, " ทักท้วง ถกเถียง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (เมษายน ๒๕๔๒) : ๖๑.

"ช้างม้าไม่เป็นตัว," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๓๓.

"ช้างเล่นละครต้องหัวดำ," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๕ - ๖ : ๔๗.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. "แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม, " สารคดีภาพ. สารคดี. ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑๗๗ (เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๒) : ๑๕๘-๑๖๔.

ชำนาญ เกิดพิบูลย์. " รถม้าพระที่นั่งมีมาแต่ครั้งไหน" จุลสารวิมานเมฆ. : ๙-๑๑.

"ตำนานโรงรับจำนำ," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๕ - ๖. : ๗๘.

เถิ่ง ธรรมทัศน์. "พระบางคู่อริของพระแก้วมรกต," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๕ - ๖ : ๔๘ - ๕๑.

___________. "ร.๔ ตัดสินคดีจีนแสงทำอาคม," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๕๔- ๕๗.

___________. "สมเด็จเจ้าพระยา 2 พี่น้อง : คู่บัลลังก์รัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๗ - ๙. (๒๕๔๗) : ๖๐ - ๖๙.

ทรงสรรค์ นิลกำแหง. "กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๓๒๕ - ๒๕๒๕, " ศิลปากร. (ฉบับพิเศษ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี) ปีที่ ๒๕ เล่ม ๖ (มกราคม ๒๕๒๕) : ๔๕-๕๕.

_______________. “ พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์กาญจนาภิเษก,” วารสารราชบัณฑิตยสถาน . ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๔ ( กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๓๘) : ๕๔- ๖๘.

ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. “ความคิดของคนอเมริกันที่มีต่อเมืองไทยในอดีต ( ค.ศ.๑๘๒๑-๑๙๓๒),” ศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๗ ( พฤษภาคม ๒๕๓๑) : ๕๐- ๖๒.

ทัศนีย์ ยาวะประภาษ. "วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร, " กินรี. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔ (เดือนเมษายน ๒๕๔๐) : ๖๐ - ๖๖.

"ทำเสน่ห์พระปิ่นเกล้าฯ จนมีพระองค์เจ้า ๙ พระองค์," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๕ - ๖. : ๓๘ - ๔๐.

เทพมนตรี ลิมปพยอม. "ข้อสงสัยเกี่ยวกับพระแท่นมนังคศิลาบาตร, " ประวัติศาสตร์-โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (ธันวามคม ๒๕๔๑) : ๑๑๗ - ๑๑๙.

ธนพร. "พสกนิกรไทยเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์และพระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย," สกุลไทย. ปีที่ ๕๑ ฉบับที่ ๒๖๑๓ (วันอังคารที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗) : ๔-๕, ๓๔-๓๕.

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. "แอนนากับมาร์กาเร็ต เฟมินิสต์ในราชสำนักสยาม" ศิลปวัฒนธรรม. ลำดับที่ ๒๔๒ ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ (เดือนธันวาคม ๒๕๔๒) : ๓๖ - ๔๘.

นราธิป. " หญิงใจเด็ด...ผู้อาจหาญผ่าม่านประเพณีคลุมถุงชน, " ผู้หญิงวันวาน. ผู้หญิง. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒๔๕ (ปักษ์หลังตุลาคม ๒๕๓๘) : ๒๕๔-๒๕๖.

ปทุมรัตน์. " เรื่องนักถ่ายภาพ, " ความรู้คือประทีป. ( ฉบับเดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๐) : ๒-๑๐.

ประกาย นนทวาสี. "เสี้ยวหนึ่งของหมอชีคแห่งเชียงใหม่, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ (มีนาคม ๒๕๓๕) : ๑๒๐-๑๒๕.

ประกาศ วัชราภรณ์. "๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : พระราชกรณียกิจ วิทยาศาสตร์ดีเด่นระดับโลก," สกุลไทย. ปีที่ ๕๐ ฉบับที่ ๒๖๐๘ (วันอังคารที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๗) : ๓๐ - ๓๓.

ปรามินทร์ เครือทอง. "เดอะคิงแอนด์เดอะแอนนา 'จดหมายถึงพระสหายลับ' กับ Mission impossible?," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๕ (เดือนมีนาคม ๒๕๔๗) : ๑๔๘ - ๑๕๘.

“พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย,” วารสารฟิสิกส์อุตสาหกรรม และอุปกรณ์การแพทย์ . ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ ( มกราคม ๒๕๓๘) : ๑- ๘.

"พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แรกทรงประชวรจนถึงเวลาสวรรคต," แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสารโบราณคดี. ปีที่ ๙ เล่ม ๑-๓ (มกราคม-ธันวาคม ๒๕๑๘) : ๒๙ - ๔๕.

"พระปิ่นเกล้าเดินน้ำ," เหตุเกิดในแผ่นดิน ฉบับรวมเล่ม ๓-๔. เล่ม ๓ : หน้า ๑๒๔-๑๒๕.

พนิดา สงวนเสรีวานิช. "หอย : สัตว์โลกล้านปีที่รอวันสูญ, " สารคดีปก ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๗ (เดือนพฤษภาคม ๒๕๔๑) : ๘๘, ๙๐.

พลาดิสัย สิทธิธัญกิจ. "พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกิจการพิมพ์ในเมืองไทย" วารสารไทย. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๖๖ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๔๐) : ๑๙-๒๓.

พูนพิศมัย ดิศกุล. " รัชกาลที่ ๗ : เศรษฐกิจตกต่ำ และเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ, " สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (เมษายน ๒๕๔๒) : ๖๙.

พิพัฒน์ ชูวรเวช. "ประวัติการพิมพ์กับแสตมป์ไทย," วารสารตราไปรษณียากร. ปีที่ ๓๕ ฉบับที่ ๒ (กันยายน ๒๕๔๗) : ๕๐-๕๓.

เพลินพิศ กำราญ. “ พระราชลัญจกร,” ศิลปากร . ปีที่ ๒๕ เล่ม ๓ ( กรกฎาคม ๒๕๒๕) : ๑- ๙.

เพ็ญศรี ดุ๊ก. “ประวัติศาสตร์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ บทที่ 2 การดำเนินนโยบายเพื่อความอยู่รอดและการต่อสู้เพื่ออำนาจอธิปไตยของไทยในทางการศาลและอัตราภาษีศุลกากร,” แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี . ปีที่ ๑๕ เล่ม ๑ ( มกราคม-มิถุนายน ๒๕๒๕) : ๑- ๙๖.

ไพบูลย์ แพงเงิน. "เนื้อหาของสัญญาเบาริ่ง : กรณีพม่ากล่าวหากษัตริย์ไทย, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๔ (กันยายน ๒๕๔๔) : ๕๘-๖๐.

ภาสวรรณ. “ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นักปราชญ์ นักปกครอง และนักดาราศาสตร์ของโลก,” เกร็ดสารคดี ดวงเศรษฐี. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒๓๘, ๒๔๐ ( ๑๖-๓๑ สิงหาคม ๒๕๓๗, ๑๖- ๓๐ กันยายน ๒๕๓๗) : ๕๘-๕๙, ๘๖-๘๙ ; ๖๐- ๖๑, ๖๘- ๗๑.

เมฆ อำไพจริต. "พระราชนิพนธ์บทสุดท้าย : ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฏ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" ธรรมจักษุ. ปีที่ ๖๐ ฉบับที่ ๔ (มหาปวารณา ๒๕๑๘) : (ก)-(ฆ).

ไรท์, ไมเคิล. "กว่าจะเข้าใจ ร.๔ กับหมอบรัดเลย์," มติชนสุดสัปดาห์. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑๒๒๗ (๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗) : ๗๓.

_________. "ระบบการศึกษาและอำนาจในสังคมไทย สยามในยุคจักรวรรดินิยมสมบูรณ์แบบ, " มติชนสุดสัปดาห์. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐๘๕ (ฉบับประจำวันอังคารที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๔) : ๖๔.

_________. "ศิลาจารึกหลักที่ ๑ กับปัญญาชนรุ่นหลังรัชกาลที่ ๓-๔ พิมพ์เขียวสำหรับอนาคต ที่นำมาใช้งานไม่ได้, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๙ (กรกฏาคม ๒๕๔๓) : ๘๔ - ๘๗.

_________. "Anna and The King of Siam กัลยาณมิตร," มติชนสุดสัปดาห.์ ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑๒๒๖ (๑๓-๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗) : ๖๘ - ๖๙.

ล้อม เพ็งแก้ว. " พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ ขึ้นครองราชสมบัติอย่างไร?, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๙ (มีนาคม ๒๕๓๔) : ๑๐๖ - ๑๑๓.

วิบูล วิจิตรวาทการ. " ความยุ่งยากของพระสงฆ์ในแผ่นดินของสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒๘๙ (มีนาคม ๒๕๓๒) : ๒๘ - ๓๐.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "เคราะห์กรรมของนายอินเสน : ตอนที่ ๑". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓๖๓ (เมษายน ๒๕๓๕) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. " ช้างเผือกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : ตอนที่ ๑". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓๖๑ (มีนาคม ๒๕๓๕) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "ช้างเผือกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : ตอนที่ ๒". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๓๖๑ (มีนาคม ๒๕๓๕) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "ปัญหาคนดื่มเหล้าเมายาในแผ่นดินของรัชกาลที่สี่". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๒๘๘ (กุมภาพันธ์ ๒๕๓๒) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "เมื่อเจ้าจอมมารดากลีบถูกกล่าวหาว่าปลงพระชนม์ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๓๒๐ ( มิถุนายน ๒๕๓๓) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "เมื่อฝรั่งยิงนกในวัดไทย". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒๗๔ (กรกฎาคม ๒๕๓๑) : ๒๘ - ๓๑.

วิบูล วิจิตรวาทการ. "เมื่อสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงแก้ปัญหาเรื่องเจ้าจอมและนางห้ามล้นพระราชวัง".นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒๗๒ (มิถุนายน ๒๕๓๑) : ๒๘ - ๓๒

วิบูล วิจิตรวาทการ. " เมื่อสมเด็จพระจอมเกล้าฯทรงปรามกรณีคอรัปชั่นของเจ้าเมืองไชยา". นิตยสารดิฉัน. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๒๘๖ (มกราคม ๒๕๓๑) : ๒๘ - ๓๑.

วิมล พงศ์พิพัฒน์. "พระแก้วมรกต, " แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี. ปีที่ ๘ เล่ม ๑-๓ (มกราคม-ธันวาคม ๒๕๑๗) : ๗๑ - ๗๓.

วิสุทธิ์ บุษยกุล. "เวลามาตรฐานไทย," วารสารราชบัณฑิตยสถาน. ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๕) : ๗๕๕-๗๖๑.

วุฒิชัย วชิรเมธี. " 'ยํ ยํ เทวมนุสฺสานํ' คาถาบาลีมีขึ้นเพราะเหตุวิทวาทะ ระหว่างสมเด็จพระจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ ๔ และพระพุทธโฆษาจารย์ (ฉิม) วัดโมลีโลกยาราม," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๕ (เดือนมีนาคม ๒๕๔๗) : ๑๔๐ - ๑๔๔.

ศันสนีย์ วีระศิลปชัย. " กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ ราชนารีผู้มีชาตาพลิกผัน, " หม่อมห้ามนางใน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๘ (เดือนมิถุนายน ๒๕๓๗) : ๑๔๘ - ๑๕๐.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "เจ้าจอมมารดาทับทิม , " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๑๒ (ตุลาคม ๒๕๓๕) : ๙๐-๙๘.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. " แมวอิเหนา เจ้าจอมมารดาวาด, " เรื่องเก่าๆ ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๕ ( มีนาคม ๒๕๓๕) : ๑๖๐ - ๑๖๗.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "สตรีสกุล "บุญนาค", " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐ (สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๖๔ - ๖๗.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "ผู้หญิงชาววัง, " หม่อมห้ามนางใน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๗ ฉบับ ๑๑ (เดือนกันยายน ๒๕๓๙) : ๑๒๕ - ๑๒๗.

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. "หม่อมเจ้าฉวีวาด, " หม่อมห้ามนางใน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๕ (มีนาคม ๒๕๓๙) : ๑๑๖-๑๑๘.

ศัลวิธานนิเทศ, พระยา. "สุริยุปราคา ๔ ครั้งในประเทศไทย". ทางช้างเผือก. ปีที่ ๑๒ เล่ม ๓ (กันยายน - ตุลาคม ๒๕๓๖) : ๓๐ - ๕๑.

ศุกลรัตน์ ธาราศักดิ์. “ รัชกาลที่ ๓ สวรรคต “ เจ้าฟ้ามงกุฎ” ครองราชย์,” ศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๘ ( มิถุนายน ๒๕๔๓) : ๖๔- ๖๗.

ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. "ควบคุมชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ ก่อนการปฏิรูปการปกครอง (พ.ศ.๒๓๒๕- ๒๔๓๕), " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕) : ๑๘๐-๑๙๘.

ส. พลายน้อย. "จากอีหนูถึงอำแดง, " พจนานุกรมฉบับมติชน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (เดือนธันวาคม ๒๕๔๑) : ๒๒.

_________."ภูเขาทองวัดสระเกศ, " รูปเก่าเล่าเรื่อง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐ (สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๙๖.

_________. "บันทึกเรื่องพระจอมเกล้าฯ" วารสารไทย. ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๗๑ ( กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๒) : ๕-๑๐.

_________. "เบิกพระเนตร- เบิกพระโอษฐ์, " ภาษา-วัฒนธรรม ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๖ (เมษายน ๒๕๔๒) : ๖๒ - ๖๓.

_________ . “วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม,” รูปเก่าเล่าเรื่อง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๘ ( มิถุนายน ๒๕๔๓) : ๘๘-๘๙.

_________. "วัดพระศรีรัตนศาสดาราม, " รูปเก่าเล่าเรื่อง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓) : ๘๙.

_________. " หอระฆังวัดพระแก้ว, " รูปเก่าเล่าเรื่อง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๔ ( กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓) : ๘๘.

ส. ศิวรักษ์. "รำลึกถึงปฐมสภานายกมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา : พระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทัตโต), " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๙ (กรกฏาคม ๒๕๔๓) : ๔๒ - ๕๘.

"สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย) แม่กองขุดคลองแสนแสบ, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๓๗) : ๘๗.

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, ท่านผู้หญิง. " พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว, " วารสารไทย. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๗๓ ( มกราคม-มีนาคม ๒๕๔๓) : ๔-๙. (ฝ่ายเอกสารต่อเนื่อง)

สยาม สุรีย์. "ตำนานหวย," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๗๗ - ๘๙.

_______. "ประเพณีเมียหลายคนในสยาม," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๕๘ - ๖๖.

"สายสกุล "บุนนาค" มาจาก "แขก" เปอร์เซีย," ชวนอ่านวิจารณ์หนังสือ ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๔ ( กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓) : ๑๔๖ - ๑๕๕.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. "วังสีทา ของพระปิ่นเกล้า : ที่ชุมชนชาวลาวริมแม่น้ำป่าสัก สระบุรี, " มติชนสุดสัปดาห์. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒๐ (วันจันทร์ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๓๙.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. "แอนนากับ " สี่แผ่นดินฝรั่ง"" ศิลปวัฒนธรรม. ลำดับที่ ๒๔๒ ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ ( เดือนธันวาคม ๒๕๔๒) : ๑๐ - ๑๒.

สุที หริมเทพาธิป. "วังสีทาของพระปิ่นเกล้า : วังหน้าในชุมชนลาวที่สระบุรี, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐ ( สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๔๔ -๕๑.

สุทธิลักษณ์ อำพันวงษ์. "แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม ในพระเจ้ากรุงสยามของ ส.ธรรมยศ" ศิลปวัฒนธรรม. ลำดับที่ ๒๔๒ ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๒ (เดือนธันวาคม ๒๕๔๒) : ๒๖ - ๓๕.

สุพจน์ แจ้งเร็ว. " หม่อมแรกในพระเจ้ากรุงสยาม, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖) : ๕๖ - ๕๙.

สุภัทร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง. ""นักขัดคอ" เจ้าฟ้ามงกุฎ, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๓ : (มกราคม ๒๕๓๙) : ๒๓๒.

สุมน ศิริมา. "ภูเขาทอง," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๕ - ๖ : ๔ - ๑๐.

________."โอรสลับพระเจ้าตาก," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๗ - ๙. (๒๕๔๗) : ๑๗ - ๒๙.

สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, รศ.ดร.ม.ร.ว. "นครวัดจำลอง : พระราโชบายในรัชกาลที่ ๔ เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมเขมร, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๓๕) : ๙๐-๙๔.

สุริยาวุฒิ สุขสวัสดิ์, ศ.ดร.ม.ร.ว. "พระแก้ววังหน้า, " พระพุทธรูปมิ่งเมือง ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๓ (มกราคม ๒๕๓๙) : ๘๒ - ๘๓.

สิงห์โต ปุกหุต. "เดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จหว้ากอ". วารสารวิทยาศาสตร์. ปีที่ ๔๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖) : ๕ - ๑๑

แสงโสม เกษมศรี, ศ.ม.ร.ว. " ประวัติศาสตร์สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ บทที่ ๙ พระราชประวัติ และการสืบราชสมบัติ, " แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี. ปีที่ ๘ เล่ม ๑-๓ (มกราคม-ธันวาคม ๒๕๑๗) : ๑ - ๑๑.

" หนังทุกเรื่องเป็นนิยาย ไม่ใช่เรื่องจริง" เรื่องจากปก เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๙๕ (วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๒ - ๒ มกราคม ๒๕๔๓) : ๑๒.

"องค์หญิงยิ่งเยาวลักษณ์," เหตุเกิดในแผ่นดิน ฉบับรวมเล่ม ๓-๔. เล่ม ๔ : ๙๙ - ๑๑๐.

อัมพร จิรัฐติกร. "รำลึก...มฤคทายวัน ในความงามแห่งสถาปัตยกรรมเมืองสามวัง". อนุสาร อสท. ปีที่ ๓๔ ฉบับที่ ๑๐ ( พฤษภาคม ๒๕๓๗) : ๕๐ - ๖๑.

อาบทิพย์ ส่งกิตติสุนทร. "ธงชาติไทย," จดหมายเหตุกรุงรัตนโกสินทร์ วารสารจดหมายข่าวห้องสมุดเฉพาะสำนักราชเลขาธิการ. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๑ (ตุลาคม ๒๕๔๕ - มกราคม ๒๕๔๖) : ๕๐-๕๖.

อาทิตย์ ทรงกลด. "๓ สามเณร," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ฉบับรวมเล่ม ๗ - ๙ (๒๕๔๗) : ๑๑ - ๑๖.

อารี สวัสดี. " พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระราชกรณียกิจสุริยุปราคาที่ปัตตานีและโคกโพธิ์". ทางช้างเผือก. ปีที่ ๑๒ ฉบับที่ ๓ (กันยายน - ตุลาคม ๒๕๓๖) : ๑๑ - ๒๙.

อินทรมนตรี (แย้ม), พระ. "ระยะทางราชทูตไทยไปกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน, " แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสาร โบราณคดี. ปีที่ ๘ เล่ม ๑-๓ (มกราคม-ธันวาคม ๒๕๑๗) : ๑๖ - ๔๕.

อิศรา วิตรศรีกมล. "ราชโอรส-ราชธิดา ในรัชกาลที่ ๔, " จดหมายถึงบรรณาธิการ ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐ (สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๑๓ - ๑๔.

อุษา ตะนาวศรี. "โทษแอบดูขบวนเสด็จ," เหตุเกิดในแผ่นดิน. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ (๒๕๔๗) : ๑๖๓ - ๑๖๙.

เอนก นาวิกมูล. "คนพายเรือสำปั้น," ภาพเก่าเล่าตำนาน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (ธันวามคม ๒๕๔๑) : ๔๘ - ๔๙.

___________. "เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค), " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๘ (เดือนมิถุนายน ๒๕๓๗) : ๑๐๔ - ๑๐๖.

___________. " ช่างถ่ายรูปยุคแรกของไทย, " ภาพเก่าเล่าตำนาน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๐ (สิงหาคม ๒๕๔๓) : ๑๒๔ - ๑๓๐.

__________ . “ บั้นปลายของนายโหมด” ศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๗ ( พฤษภาคม ๒๕๔๓) : ๙๐- ๙๓.

___________. " รูปหินอ่อนหน้าพระอุโบสถวัดพระแก้ว, " ภาพเก่าเล่าตำนาน ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๔๑) : ๔๖ - ๔๗.

___________. "ส.ค.ส. ขึ้นปีใหม่ พ.ศ. ๒๔๒๙ ในราชสำนักรัชกาลที่ ๕, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ ( ธันวาคม ๒๕๓๗) : ๑๐๐.

___________. "สิ่งของไทยในงาน ๑๐๐ ปี อเมริกา, " ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๙ (กรกฎาคม ๒๕๓๓) : ๙๒- ๙๗.

"แอนนา แอนด์ เดอะ คิง : เรื่องหลังฉากจาก ' คนหลังเงา', ". เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๙๕ (วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๒ - ๒ มกราคม ๒๕๔๓) : ๘-๑๐.

"แอนนาในสายตา ' ท่านมุ้ย' "เธอจุ้นจ้าน และไม่มีกาลเทศะ," เรื่องจากปก เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๙๕ (วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๒ - ๒ มกราคม ๒๕๔๓) : ๑๑.

“โอรส-ธิดา ของ ร.๔,” ศิลปวัฒนธรรม . ปีที่ ๒๑ ฉบับที่ ๘ ( มิถุนายน ๒๕๔๓) : ๑๗-๑๘.

Anna and The King ได้ฤกษ์ลงโรงฉาย. ไทยโพสต์ เอ็กซ์-ไซท์ ภาคบันเทิงเทศ. : ๑๒-๑๓.

Cowan, William L. "The role of Prince Chutamani in the modernizing of Siam and his court position during the reigns of Rama III and
Rama IV," Journal of the Siam Society LV (January 1967) : 46. ( เอกสารฉบับสำเนา)

Frankfurter, O. "King Mongkut," Journal of the Siam Society. Vol. 92(2004) : 1-13.




หนังสือพิมพ์

"เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี," บ้านเมือง. ปีที่ ๑ (๓๓) ฉบับที่ ๓๒๙ (๑๕๒๐๔) : (วันจันทร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗ : ฉบับแทรก.

เชาวน์ รูปเทวินทร์."ตอบจดหมายท่านผู้อ่าน". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๔.

______________. "ในหลวงนักวิทยาศาสตร์". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๔.

______________."ปฐมวงศ์ (๘) : ว่าด้วยต้นสกุล "จันทโรจน์วงศ์" (ต่อ)". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๓๔.

______________. "ปฐมวงศ์ (๙) : "จราจลในกรุงธนบุรี - ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๔.

______________. "ปฐมวงศ์ (๑๐)". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๔.

______________. " พระมหากษัตริย์กับหนังสือพิมพ์". เดลิมิเร่อร์. ฉบับแทรก ก. ฉบับวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๒๙.

______________."พระราชทานปณิธาน ร.๔". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๓๔.

______________." เมื่อ ร.๔ ทรงแต่งคาถาลาพระสงฆ์ก่อนสวรรคต". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๓๔.

______________."ร.๔ กับสมเด็จโต". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๓๔

______________." ร.๔ กับสมเด็จโต (ต่อ)". เดลิมิเร่อร์. ฉบับวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๔.

บางกอกรีคอร์ดเดอร์ น.ส.พ. ฉบับแรกของเมืองไทย". มติชน. ฉบับวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๓.

บัวนอกบึง. "Anna and the King and the Thai : แอนนา แอนด์ เดอะ คิง แอนด์ เดอะ ไทย". มติชนสุขสรรค์ มติชน. ฉบับวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๓.

สาลิน วิรบุตร์. " พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว : พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย, " มติชนสุขสรรค์ มติชน. ฉบับวันศุกร์ที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙.

สุจิตต์ วงษ์เทศ. "รัชกาลที่ ๔ ทรงประดิษฐ์อักษรไทย 'อริยกะ'," ในคอลัมน ์สยามประเทศไทย มติชน. ฉบับวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๗. หน้า ๓๔.

อนุภาค ชัยชนะดารา. "สัมมนา ๒๐๐ ปี พระเจ้ากรุงสยาม : จุดเปลี่ยนแปลงการพัฒนา 'ไทย'," มติชน. ฉบับวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๗. หน้า ๓๔.

Chinvarakorn, Vasana. "Trade-off : 'Siwilai' for sovereignty," Outlook Bangkok Post. November 24, 2004. pp.01, 03.

"Kings of Chakri Dynasty : King Rama IV," Bangkok Post/World (Supplement). Monday December 28, 1981. pp.13.

Saenkhum, Tanita. "Tribute fit for a king," The Nation. Wednesday, November 24, 2004. pp.14A.



วัสดุไม่ตีพิมพ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ภาพถ่ายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [computer file] : ในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๕-๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๔๗. [TR146 ม-ภ 2547]

มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [Computer file] : ในโอกาสที่ วันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.[DS581 ม-ง 2547]

มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. วัดบวรนิเวศวิหาร [computer file] : งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี วันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๗. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหามุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.


วัดบวรนิเวศวิหาร.
ครบ ๒๐๐ ปี แห่งการพระบรมราชสมภพ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๔๗ [computer file] : งานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในโอกาสที่วันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี ๑๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗. กรุงเทพฯ : วัดบวรนิเวศวิหาร, 2547. (DS581 ม-ว 2547)




ปรับปรุงครั้งล่าสุด วันพุธที่ ๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๘