สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สิ่งพิมพ์เกี่ยวกับพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
หนังสือ | วารสาร | สิ่งพิมพ์

หนังสือ
  กรมยุทธการทหารบก. อุทยานประวัติศาสตร์สงคราม ๙ ทัพ จังหวัดกาญจนบุร. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์, ๒๕๔๓.

กรมศิลปากร. จดหมายเหตุนครราชสีมา. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์, ๒๕๒๘. (DS578.3 ก-จ 2528)

กรมศิลปากร. "จดหมายเหตุจีนพรรณนาว่าด้วยกรุงสยาม," ประชุมพงศาวดาร. ภาคที่ ๕. พิมพ์ครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ, ๒๕๓๓. [DS571 ก-ป 2533] (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันตำรวจเอก (พิเศษ) บุญเพ็ญ แขวัฒนะ ต.ช. ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๓๓]

กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ เรื่อง ประวัติศาสตร์ไทย : จะเรียนจะสอนกันอย่างไร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๓.

กระทรวงพาณิชย์. เส้นทางการค้าไทย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอุดมศึกษา, ๒๕๔๓. (ที่ระลึกเนื่องในวันสถาปนากระทรวงพาณิชย์ ครบรอบ ๘๐ ปี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๔๓)


คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ. เมืองไทยของเรา. กรุงเทพฯ : คณะอนุกรรมการเฉพะากิจจัดทำหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยสำหรับเยาวชน, ๒๕๒๕. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕)


คณะศึกษานิเทศก์ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดจันทบุรี. "พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช,"ที่ระลึกพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์, ๒๕๒๔. (จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินราธิราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนิน มาทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ จังหวัดจันทบุรี วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือนยี่ ปีระกา)

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก .pdf ไฟล์

จักรพันธุ์ โปษยกฤต. "หุ่นหลวง,"สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๑๕, หม่อม - โฮกปี๊บ : การเล่น. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๗๒๐๒ - ๗๒๐๗. (จัดพิมพ์เนื่องใน พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS568 ม-ส 2542)


ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์. สมุดภาพโบราณ ตำนานรัตโกสินทร์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๖.


ทวี ตันติวงษ์. "ฮวงซุ้ย-สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี : ื้ที่อำเภอเท่งไฮ้ จังหวัดแต้จิ๋ว มณฑลกวางตุ้ง," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๘ (เดือนมิถุนายน ๒๕๓๗) : ๑๙๘.


ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา. “กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข,” สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๘. หน้า ๖-๑๓.


ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา. “เรื่องเก่าและของดีแห่งธนบุรี,” บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการจัดทำเอกสาร และบทความสดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๙. หน้า ๕๓-๖๒.


น. ณ ปากน้ำ. ศิลปะโบราณในสยาม. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, ๒๕๓๗.


นายสวนมหาดเล็ก. โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี . พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๐. (แจกในการกฐินพระราชทาน มหาอำมาตย์ตรี พระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์กรุงเทพฯ ณ วัดเวฬุราชิณ พระพุทธศักราช ๒๔๗๐)


นิธิ เอียวศรีวงศ์. การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๓.


นิธิ เอียวศรีวงศ์. กรุงแตก, พระเจ้าตากฯ และประวัติศาสตร์ไทย : ว่าด้วยประวัติาสตร์และประวัติศาสตร์นิพนธ์. พิมพ์คั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๓.


แบบเรียนพงศาวดารกรุงธนบุรี แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ (พระเจ้าตากสิน) จุลศักราช ๑๑๒๘ ถึง ๑๑๔๔. พิมพ์ครั้งที่ ๔. พระนคร : โรงพิมพ์กรมตำรากระทรวงธรรมการ, ๒๔๗๒.
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก .pdf ไฟล์

ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๖๕ โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน. กรุงเทพฯ : บริษัทชัยวโรจน์การพิมพ์จำกัด, ๒๕๓๕. (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บริเวณพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และบริเวณถนนลาดหญ้า วันที่ ๒๗-๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๕).


ปราณี แจ่มขุนเทียน. "เมืองพิษณุโลกสมัยกรุงธนบุรี," รวมเรื่องประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเมืองพิษณุโลก. เชียงใหม่ : ส.ทรัพย์การพิมพ์, ๒๕๓๕. หน้า ๒๒-๒๕.


เปิดวังสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ธีรกิจ (ประทศไทย) จำกัด, ๒๕๓๙.

"พระเกียรติประวัติทางทหาร สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาสุรสิงหนาท," กองพลทหารราบที่ ๙ อนุสรณ์งานฉลองวันชนะศึกทุ่งลาดหญ้า ประจำปี ๒๕๒๗ ๑๗-๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๗. หน้า ๑๔-๒๙.

พระราชวังเดิม กรุงธนบุรี. [ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป.]


พระราชวังเดิม พ.ศ.๒๕๔๑. กรุงเทพฯ : มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม, ๒๕๔๑.


พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี) (Phra Racha Wang Derm). กรุงเทพฯ : มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม, ๒๕๔๓.


เมืองไทยของเรา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๕. (คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อจัดทำหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทย สำหรับเยาวชน จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบห้ารอบ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๕)


โยเนะโอะ, อิชิอิ. คสามสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น ๖๐๐ ปี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒. (มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นสมัยใหม่ ๒๖ กันยายน ๒๔๓๐-๒๕๓๐)


ไรท์, ไมเคิล. ฝรั่งคลั่งสยาม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๒.


ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ ภาคที่ ๑๐ เรื่องตำรากระบวรเสด็จฯ และกระบวรแห่แต่โบราณ. พระนคร : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๓. (พิมพ์ในงานปลงศพ อำมาตย์เอก พระยาวรพุฒิโภไคย (ชุ่ม สุวรรณสุภา) เมื่อ ปีวอก พ.ศ. ๒๔๖๓) ลำดับสกุลเก่า บางสกุล ภาคที่ ๔ สกุลเชื้อสายพระราชวงศ์กรุงธนบุรี (ฉะบับร่าง). พระนคร : โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๘๐. (๒)

วราภรณ์ จิวชัยศักดิ์. "อรุณราชวราราม, วัด"สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๑๕, หม่อม - โฮกปี๊บ : การเล่น. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๗๓๒๒ - ๗๓๓๓. (จัดพิมพ์เนื่องใน พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS568 ม-ส 2542)

วนิดา สถิตานนท์. “นิราศกวางตุ้ง : นิราศเล่าเรื่องการเดินทางไปต่างประเทศเรื่องแรกของไทย,”บทความ-สารคดีของคณะอนุกรรมการจัดทำเอกสาร และบทความสดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๙. หน้า ๑๒๓-๑๒๘.

“วันตากสินมหาราช,” ใจถึงใจ เล่ม ๑, ตุลาคม ๒๕๓๗-มีนาคม ๒๕๓๘. กรุงเทพฯ : สำนักงานสารนิเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด, ๒๕๓๘. หน้า ๑๓-๑๕.

"วันที่ระลึกบรมราชจักรีวงศ์," เพื่อแผ่นดินไทย เล่ม ๒, เมษายน - กันยายน ๒๕๓๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานสารนิเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด, ๒๕๓๔.

วีรนุช ปิณฑวณิช. "อุทัย, อำเภอ"สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๑๕, หม่อม - โฮกปี๊บ : การเล่น. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๔๒. หน้า ๗๔๓๘ - ๗๔๔๓. (จัดพิมพ์เนื่องใน พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒) (DS568 ม-ส 2542)

ศิลป โหรพิชัย. "คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ภาค 2," เส้นทางเศรษฐกิจ ฉบับพิเศษ. กรุงเทพฯ : เส้นทางเศรษฐกิจ, [ม.ป.ป.]

ส. พลายน้อย. วังหน้าพระยาเสือ : พระบวรราชประวัติสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรฯ ในรัชกาลที่ ๑. พิมพ์คร้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๓.

สมเด็จพระเจ้าตากสิน จอมบดินทร์มหาราช. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป.

สันติ เล็กสุขุม. “จิตรกรรมไทยในอดีต,” มรดกของชาติ เล่ม ๙. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๔๓. หน้า ๕๕-๕๙.

สายไหม จบกลศึก. “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช,” สดุดีบุคคลสำคัญ เล่ม ๑๔. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๘. หน้า ๑-๕.

สารานุกรมพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ : มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม, ๒๕๔๓

สาระน่ารู้กรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ : มูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานในพระราชวังเดิม, ๒๕๔๓.

สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. พระบรมราชจักรีวงศ์กับกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ๒๕๓๗.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมเอกสารจากหอหลวง. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๔. (DS577 ส-ค 2534)

สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. ของดีโคราช. เล่มที่ ๑, สาขามนุษยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, ๒๕๔๑. หน้า ๑๖๖-๑๖๗. (สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสีมา จัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนม- พรรษา ๖ รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และวาระครบรอบ ๘๔ ปี สถาบันราชภัฏนครราชสีมา ๒๕๔๑) (GT3405.T5 ส-ข 2541)

สิทธา พินิจภูวดล. “วรรณกรรมสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี,” ความรู้ทั่วไปทางวรรณกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ดวงกมล, ๒๕๒๐. หน้า ๑๕๖-๑๖๓.

สุธีร์ จันทร์เจริญสุข. พระราชประวัติย่อ และพระเกียรติคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. พระนคร : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น, ๒๕๐๙. (คณะผู้มีจิตรศรัทธาเลื่อมใสชาวเมืองตาก จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเทิดทูนและเผยแพร่พระเกียรติ-คุณของจอมวีรกษัตริย์ไทย)

Sternstein, Larry. Portvait of Bangkok. Bangkok, Allied Printers Limited, 1982. p.6-7.

back to top


วารสาร

 

ทรงสรรค์ นิลกำแหง. "กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๓๒๕ - ๒๕๒๕," ศิลปากร. (ฉบับพิเศษ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี) ปีที่ ๒๕ เล่ม ๖ (มกราคม ๒๕๒๕) : ๒๓-๒๕.

ไพบูลย์ วงษ์เทศ. "เก๋งจีนและศาลพระเจ้าตากในพระราชวังเดิม," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๓ ฉบับที่ ๔ (กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕) : ๑๑๖-๑๒๘.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. "ไปเมืองตากสืบค้นเรื่อง 'พระเจ้าตาก' แต่พบ 'แม่' พระเจ้าตาก," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๓๕) : ๑๓๔-๑๓๙.

ประพัฒน์ ตรีณรงค์. "แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอนที่ ๑)," วารสารไทย. ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๗๑ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๒) : ๑๖-๒๒.

ประพัฒน์ ตรีณรงค์. "แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอนจบ)," วารสารไทย. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๗๒ (ตุลาคม-ธันวามคม ๒๕๔๒) : ๑๓-๒๐. (ฝ่ายเอกสารต่อเนื่อง)

พงษ์ศักดิ์ ไพรอังกูร. "พระบารมีแห่งสยามบรมราชกุมารีฟื้นวิญญาณ-คืนชีวิต คลองแสนแสบ ถึงเวลาแล้ว...ที่คนกรุงเทพฯ ต้อง...หันหน้าเข้าคลอง," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ (ธันวาคม ๒๕๓๗) : ๗๙ - ๘๐.
วิกัลย์ พงศ์พนิตานนท์. "คนกรุงเทพฯ ในยุคต้นรัตนโกสินทร์," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๙ (กรกฎาคม ๒๕๓๓) : ๙๘-๑๐๓.
cสมภพ ภิรมย์. "นาวาสถาปัตยกรรมศาสตร์ (์Naval architecture)," วารสารราชบัณฑิตยสถาน. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๓ (มิถุนายน ๒๕๔๒ - กันยายน ๒๕๔๒) : ๓๗ - ๔๒. (ฝ่ายเอกสารต่อเนื่อง)

สรพล โศภิตกุล. "พระบรมรูปหล่อลอยองค์ พ.ศ.๒๔๙๔ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระมงคลราชมุนี (สนธิ์ ยติธโร)," มติชนสุดสัปดาห์. ปีที่ ๒๐ ฉบับที่ ๑๐๒๓ (วันอังคารที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๓) : ๕๘.

เฮนรี่ มหาราช. "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช : พระมหากษัตริย์ที่อยู่ในหัวใจของคนไทยชั่วนิรันดร์," คนไทยนอกประเทศ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๘ (พฤศจิกายน ๒๕๔๓) : ๕๑.

back to top



หนังสือพิมพ์
 

Davis, Bonnie. "Founding of the Rattanakosin Era," Bangkok Post/World (Supplement). Monday December 28, 1981. pp.5 - 8.

back to top